|
2519
|
ฐานะสตรีจีนในสายตาของฮันซูหยิน
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 27-48
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2530
|
ไต้หวัน (ภาวะการเมือง, เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ในปี 2529)
|
เอเชียรายปี หน้า 70-76
|
|
Bai Chun
|
2551
|
การศึกษาเปรียบเทียบบทแปล "หลุนยฺหวี่" สองสำนวน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 117-129
|
|
Bingling Zhong
|
2562
|
ทักษะการสื่อสารภาษาจีนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย
|
วารสาร e-Journal of Education Studies มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 หน้า 1 ถึง 15
|
|
Changlong Lan
|
2561
|
ร่องรอยเกี่ยวกับแนวคิดปรัชญาและศาสนาเต๋า ในศาลเจ้าหน่าจาซาไท้จื้อ จังหวัดชลบุรี
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 13 ฉบับที่ 26 หน้า 145-157
|
|
CHEN JIE CHEN JIE
|
2558
|
ซีโหยวจี้ – ไซอิ๋ว : วิเคราะห์กลวิธีการแปลคำศัพท์ทางวัฒนธรรม
|
สักทอง วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส) ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 199 - 206
|
|
DanTing Li, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, เบญจวรรณ นาราสัจจ์
|
2561
|
วีรชนในแบบเรียนประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของจีนปัจจุบัน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 251-272
|
|
FENG ZHOUBI , Sarassawadee Ongsakul
|
2563
|
ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนา ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 – 16
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 232-250
|
|
He Liquan
|
2556
|
ลังกาสิบสองหัว: นิทานพระรามของสิบสองพันนา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 97-118
|
|
Hu Qingguo
|
2556
|
"การเรียนรู้ด้วยตัวเองของนักศึกษาต่างชาติในประเทศจีน" แปลและเรียบเรียงโดย กองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 217-239
|
|
Huanli Xu, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, แก้วตา จันทรานุสรณ์
|
2564
|
เจิ้งเหอ: การสร้างความทรงจำร่วมในสวนสาธารณะตำบลจิ้นหนิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 130 - 156
|
|
Hui Huang, ศักดิ์ชัย เจริญศิริพรกุล
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบธุรกิจของบริษัทเหม่ยถวนดีลิเวอรี่ และบริษัทเอ้ยเหริงเมอดีลิเวอรี่ ในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 1 - 15
|
|
Jiranuwat Sawasnatee, Wan Ping, Tai
|
2556
|
เหลียวหลังแลหน้า 37 ปี ความสัมพันธ์ไทย – จีน : มุมมองทฤษฎีสรรค์สร้างนิยม – เหลียวหลังแลหน้า 37 ปี ความสัมพันธ์ไทย – จีน : มุมมองทฤษฎีสรรค์สร้างนิยม – จากมิตรเป็นศัตรูจากศัตรูสู่มิตร
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 94-118
|
|
Jirayut Hansapan
|
2566
|
ภูมิทัศน์จินตกรรมในนวนิยายโรมานซ์และการเปลี่ยนแปลงอัตลักษณ์ของ ตัวละครชาวจีนพลัดถิ่นของฉยงเหยาในทศวรรษที่ 1960-1970 Imaginative Geographies and the Identity Transformation of Chinese Diaspora Characters in Qiongyao’s 1960-1970’s Romance Novels
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 46-79
|
|
Kamonchanok Tosanguan
|
2566
|
ภาพลักษณ์ของจักรพรรดิเฉียนหลังที่ปรากฏในภาพยนตร์และละครตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน THE IMAGES OF EMPEROR QIANLONG APPEARING IN FILMS AND DRAMAS FROM PAST TO PRESENT
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 111-128
|
|
Kim One, ชินัณ บุญเรือง, อนุชา ทุมาภา
|
2562
|
หมู่อาคารโบราณมรดกโลก อู่ตังซาน (???) : เครือข่ายและอิทธิพลของศาสนาเต๋าต่องานเผยแพร่วัฒนธรรมจีน
|
วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 85-94
|
|
Lin Caijun
|
2563
|
การวิจัยเชิงทดลองรูปแบบพัฒนาการระบบคลังคำในใจของภาษาจีนในฐานะภาษาที่สองของนักศึกษาไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 40-59
|
|
Lin Hung-Cheng, สุพิชฌาย์ ทวีธนวิริ, สุชาดา ภู่สิทธิกุล
|
2560
|
พัฒนาการทางความหมายของคำว่า "???" และ "??" ในไต้หวันและจีนแผ่นดินใหญ่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 187-223
|
|
Lin Shiya, อิมธิรา อ่อนคำ
|
2563
|
ศึกษาเปรียบเทียบประเพณีในรอบปีของชาวจีนแต้จิ๋ว: กรณีศึกษา ย่านเยาวราช ประเทศไทย และจังหวัดกิ๊กเอี๊ย มณฑลกวางตุ้ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 28-45
|
|
Liping Li, ภรดี พันธุภากร, เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์์
|
2565
|
มังกรลายกนก : วิจัยสร้างสรรค์ศิลปะข้ามวัฒนธรรมต้าหลี่ - สุโขทัย (หน้า 213-230)
|
วารสารศิลปกรรมบูรพา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
|
|
Liu Jian Lu, พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์, ภูริวรรณ วรานุสาสน์
|
2560
|
การศึกษาเปรียบเทียบความเปรียบ "ไซฮั่น" ฉบับภาษาจีน กับฉบับแปลภาษาไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 73-82
|
|
Liu Jian, ภรดี พันธุภากร, ภูวษา เรืองชีวิน
|
2566
|
หัตถศิลป์และอัตลักษณ์ทางศิลปะของกระเบื้องเคลือบเชี่ยนฉือในพื้นที่ฉาวซ่านของจีน กรณีศึกษาวัดไคหยวน ในเมืองเฉาโจว A Research on the Craftsmanship and Artistic Characteristics of Inlaid Porcelain in the Chaoshan Area of China-A Case of Kaiyuan Temple in Chaozhou
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 14-28
|
|
LIU SHUWEN
|
2563
|
ดอกโบตั๋น ดอกไม้มงคลจีนในงานศิลปะไทย
|
วารสารศิลปกรรมบูรพา ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 หน้า 52 - 66
|
|
Liu Yaxian
|
2556
|
"การวิเคราะห์รูปแบบโครงสร้างของหน่วยขยายภาษาจีนโบราณ" แปลและเรียบเรียงโดย พวงผกา สิทธิจันทร์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 53-87
|
|
Luo Xiaoyu, สุวพร เซ็มเฮง, พรชุลี ลังกา
|
2561
|
แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้ภาษาจีนสำหรับโรงเรียนสองภาษา (ไทย-จีน) สังกัดกรุงเทพมหานคร
|
วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 53-64
|
|
Ma GuiTong, ศุภการ สิริไพศาล, อดิศร ศักดิ์สูง
|
2561
|
วัฒนธรรมกวนซี่กับการสร้างเครือข่ายทางสังคมของชาวไทยเชื้อสายจีนฮากกา ในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างประเทศไทย
|
อินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 139-163
|
|
Ningrong Yang, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, ธนนันท์ บุ่นวรรณา
|
2565
|
อู่เจ๋อเทียนในบันทึกเก่าสุด “จิ้วถังซู” (旧唐书/Jiu Tangshu) ประวัติศาสตร์ นิพนธ์จีนสมัยห้าราชวงศ์สิบรัฐ (ค.ศ. 907-960)
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
Paitara Chaochalard
|
2559
|
การแลกเปลี่ยนเชิงวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผ่านการท่องเที่ยวและดนตรีจีน (กู่เจิง)
|
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 21-32
|
|
Peng Le Shan, ศรีวิไล พลมณี, สนิท สัตโยภาส
|
2562
|
สถานภาพและบทบาทของผู้หญิงจีนในหนังสือรวมเรื่องสั้น "เสียงเพรียกที่กลบเร้น จากแผ่นดินใหญ่"
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 31-42
|
|
PIMWARIN SIRISRISUDAKUL
|
2566
|
การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับความรักในบทเพลงจีนของโจวเจี๋ยหลุน
|
มนุษยศาสตร์สาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
Rao Ruiying
|
2552
|
อิทธิพล soft power ของจีนในการร่วมมือกับประเทศแถบเอเชียอาคเนย์
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 3 หน้า 192-206
|
|
Shengyang Wu, อนันต์ เหล่าเลิศวรกุล
|
2553
|
มอง“เกาเหลา”จากแง่มุมวัฒนธรรมอาหารการกินของคนแคะ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 154-170
|
|
Surasit Amornwanitsak
|
2566
|
"หินศักดิ์สิทธิ์ในวัฒนธรรมจีน : ว่าด้วย “สือก่านตัง” ในตำนานและคติความเชื่อ Sacred Stones in Chinese Culture: Exploring the Legend and Beliefs Surrounding the “Shi Gan Dang” "
|
"วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 1-19
|
|
Tanyarat Malasri; Kanokporn Numtong
|
2566
|
The Reflection of Chinese Beliefs in Couplets from Tombstones at Wat Phananchoeng Cemetery in Ayutthaya.
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 234-268
|
|
TASSNEE KHAMSAENGTONG
|
2567
|
การศึกษาเปรียบเทียบภาษาจีน“着”และภาษาไทย“อยู่ ”
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 483-510
|
|
Tiansong Wang, Yinsheng Li
|
2562
|
การศึกษาสภาพการเรียนการสอนภาษาจีนของโรงเรียนจีนในภาคเหนือ
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 244 - 256
|
|
TU YUANYUAN, อิศเรศ ดลเพ็ญ
|
2566
|
อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในการนําเสนอภาพชายรักชายในนวนิยายแปลจีน
|
วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา) สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
Wu Shengyang
|
2552
|
ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของคำจีน"Mo-Xu"---การศึกษาเปรียบเทียบคำจีน"Mo-Xu"กับคำว่า "เบาะแส" ในภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 99-122
|
|
Xiao Shanshan, Li Jun, ผ่องพรรณ ทวีเลิศทรัพย
|
2560
|
เปรียบเทียบคำที่ออกเสียงคล้ายกันระหว่างภาษาจีนกลางกับภาษาไทยมาตรฐาน
|
วารสารศรีปทุมปริทัศน์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 129-136
|
|
Xiaohui Guo
|
2561
|
การจัดการความร่วมมือทางการศึกษาระหว่างรัฐบาลไทย กับ รัฐบาลจีน
|
วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 หน้า 283-296
|
|
Xu Meizhu
|
2555
|
"จิตวิญญาณทางศาสนาภายใต้ผลงานของสวี่ตี้ซาน" แปลและเรียบเรียงโดย กรรณิฐา เมธีรัตนไพศาล
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 87-107
|
|
Xu Peiling
|
2555
|
"การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมแนวสัจนิยมจีนและวรรณกรรมเพื่อชีวิตของไทย" แปลและเรียบเรียงโดย ไพรินทร์ ศรีสินทร์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 49-86
|
|
Xuejun Wu, ศุภฤกษ์ โพธิไพรัตนา
|
2562
|
การเปิดรับสื่อ ความพึงพอใจและการรับรู้ภาพลักษณ์คนไทยจากละครโทรทัศน์ไทยของประชาชนจีน เมืองเฉิงตู มณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 40-67
|
|
Yao Siqi
|
2563
|
อุปลักษณ์มโนทัศน์ “ใจเป็นภาชนะ” ในภาษาไทยเปรียบเทียบกับภาษาจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 113-139
|
|
Yao Siqi
|
2563
|
อุปลักษณ์มโนทัศน์ “ใจเป็นภาชนะ” ในภาษาไทยเปรียบเทียบกับภาษาจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
|
|
Yao Siqi
|
2562
|
อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ “ความฝันจีน” กับยุทธศาสตร์การบริหารประเทศของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 48 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 40
|
|
Yao Siqi
|
2561
|
อุปลักษณ์สงครามสู่ "ความฝันจีน" : มุมมองทางปริชาน
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 71-101
|
|
Yao Siqi
|
2561
|
อุปลักษณ์มโนทัศน์ “ความฝันจีนเป็นการเดินทาง” : มุมมองทางปริชาน
|
วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 หน้า 74-93
|
|
Yao Siqi
|
2560
|
อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ “มนุษย์เป็นสัตว์”: กรณีศึกษาสมญานามในวรรณกรรมจีนเรื่อง ??? /??uei214 xu214 t?uan51 /(ซ้องกั๋ง)
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 43
|
|
Yao Siqi
|
2559
|
อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับหงส์และไก่ในภาษาจีน
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 45 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 58
|
|
Yao Siqi
|
2559
|
คำประสมคำนามกับคำนามที่มีคำว่า /?in55/ (ใจ) ในภาษาจีน : การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 36
|
|
Yao Siqi, ชัชวดี ศรลัมพ์
|
2561
|
อุปลักษณ์ "ใจ" กับคำแสดงประสาทสัมผัสในภาษาจีนเปรียบเทียบกับภาษาไทย
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 หน้า 174-225
|
|
You Jiadan, ภรดี พันธุภากร, ภูวษา เรืองชีวิน
|
2566
|
การประยุกต์ใช้ลวดลายหน้าต่างของสถาปัตยกรรมสํานักฮุยโจวในการออกแบบผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม
|
"วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ "
|
|
Yuanyuan Li
|
2560
|
ภาพสะท้อนคนไทยเชื้อสายจีนกลุ่มอั้งยี่ในนวนิยายชุด เลือดทระนง
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 หน้า 24-36
|
|
Yunzhu Zhao
|
2560
|
สมาคมนักธุรกิจปักกิ่ง ประเทศไทย: บทบาทด้านสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อสังคมไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 23 หน้า 11 - 23
|
|
Zhong Bingling, ชูชาติ พิณพาทย์, ปริญญา ทองสอน
|
2562
|
การพัฒนาชุดกิจกรรมการสื่อสารภาษาจีนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
|
วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 113-121
|
|
ZHOUBI FENG, สรัสวดี อ๋องสกุล
|
2563
|
ความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างจีนและล้านนา ในสมัยปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 – 16
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 232 - 250
|
|
กง ลี่หง
|
2549
|
"ศัพท์ใหม่ภาษาจีนในอินเทอร์เน็ต" แปลและเรียบเรียงโดย ปิญชาน์ สาเกตุ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 23-39
|
|
กชณิภา วิชยปรีชา, ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย
|
2556
|
การขยายความหมายของคำกริยา ? k?n ในภาษาจีนกลาง
|
วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 หน้า 51-62
|
|
กณิกนันต์ โยธานะ
|
2556
|
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนจีนที่มีคำว่า “ch?” กับสำนวนไทยที่มีคำว่า “กิน”
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 145-181
|
|
กติมา พ่วงชิงงาม
|
2562
|
The Greater Eurasia ความคิดริเริ่มแถบเศรษฐกิจและเส้นทาง และสหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย: การดำเนินนโยบายของไทยและผลประโยชน์ที่จะได้รับ
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 156 - 181
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การศึกษาแนวทางการจดบันทึกในงานล่ามจีน-ไทย ไทย-จีนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับตัวเลข
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่่ 22 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 52-64
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2564
|
การศึกษาแนวคิดความสัตย์จริงในลัทธิขงจื๊อผ่านคัมภีร์จงยง
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 หน้า 288 - 309
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2563
|
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน: บันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรสนมแปดร้อยในเอกสารโบราณสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 1-112
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2563
|
การศึกษาปัญหาการแปลบทขยายและส่วนเสริมจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 หน้า 89-105
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2563
|
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน : บันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรสนมแปดร้อยในพงศาวดารหมาน พงศาวดารราชวงศ์หยวน พงศาวดารราชวงศ์หยวนฉบับใหม่และเจาปู๋จ่งลู่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 157-227
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2563
|
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน: บันทึกเกี่ยวกับอาณาจักร สนมแปดร้อยในเอกสารโบราณสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2563
|
หลักฐานล้านนาในเอกสารโบราณจีน: บันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรสนม แปดร้อยในพงศาวดารหมาน พงศาวดารราชวงศ์หยวน พงศาวดารราชวงศ์หยวนฉบับใหม่และเจาปู๋จ่งลู่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2560
|
ภาพลักษณ์ของโจโฉในวัฒนธรรมจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 83-108
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2555
|
สถานะของกิมย้งและนิยายกิมย้งในประวัติวรรณกรรมจีน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 หน้า 154-169
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2554
|
การแปลวรรณกรรมจีนเรื่องซั่นในสมัยรัชกาลที่ 1
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ สัมมนาจีนศึกษา "พลวัฒแห่งภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม" หน้า 61-109
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2553
|
ซ้องกั๋ง กบฎที่ยอมจำนน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 7 หน้า 158 - 168
|
|
กนกพร นุ่มทอง
|
2552
|
การศึกษาการแปลวรรณกรรมจีนเรื่องไซ่ฮั่นในสมัยรัชกาลที่ 1
|
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 86 - 98
|
|
กนกพร นุ่มทอง, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2564
|
การสร้างโมเดล 4PBL สำหรับการพัฒนากระบวนการเรียนการสอนวิชาการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาจีนในระดับอุดมศึกษา
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 269 - 297
|
|
กนกพร นุ่มทอง, ลลิดา วิษณุวงศ์
|
2560
|
การศึกษานวนิยายแนวย้อนเวลาของจีน เรื่องเจาะเวลาหาจิ๋นซี กับเจาะมิติพิชิตบัลลังก์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 35-71
|
|
กนกพร นุ่มทอง, ศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม
|
2562
|
หลักและข้อควรระวังในการแปลจีน-ไทย ไทย-จีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 105-151
|
|
กนกพร ศรีญาณลักษณ์
|
2554
|
การสื่อความหมายของภาพมงคลจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 22-43
|
|
กนกพร ศรีญาณลักษณ์
|
2549
|
การประยุกต์ใช้อีเลิร์นนิงในการเรียนการสอนภาษาจีน
|
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้า 33-48
|
|
กนกรัตน์ กิตติวิวัฒน์, กนิษฐา ลีลามณี, สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2555
|
นคราภิวัฒน์ของผืนแผ่นดินจีนในยุคสมัยแห่ง “สาธารณรัฐประชาชนจีน”
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 1 ถึง 32
|
|
กนิษฐา ลีลามณี
|
2554
|
วิเคราะห์ภาพสะท้อนการเปลี่ยนแปลงของเมืองในภาพยนตร์จีน เรื่อง "เจ้าพ่อโรงอาบน้ำ" ของผู้กำกับ จาง หยาง
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ สัมมนาจีนศึกษา "พลวัฒแห่งภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม" หน้า 185-190
|
|
กนิษฐา ลีลามณี
|
2552
|
"จู้เจี้ยน" งานเขียนตลกร้ายของหลู่ซวิ่น
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 130-133
|
|
กมลชนก โตสงวน
|
2562
|
เส้นทางประวัติศาสตร์การปกครองของประเทศจีน
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 315-329
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2561
|
อักษรและรัฐ: การศึกษาเปรียบเทียบการปฏิรูปอักขรวิธีระหว่างจีนกับไทย ในทศวรรษที่ 1930-1940
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 หน้า 291-321
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2560
|
จีนในประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ในประวัติศาสตร์จีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 278-307
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2560
|
การรับรู้อารยธรรมจีนโบราณผ่านประวัติศาสตร์นิพนธ์และโบราณคดี
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 102 - 129
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2559
|
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงถัง-ซ่งกับกระบวนทัศน์ ในการศึกษาประวัติศาสตร์จีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 214-238
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2558
|
จากประวัติศาสตร์สู่งานวรรณกรรม: ตำนานขุนศึกตระกูลหยาง
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 38 - 64
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2557
|
วาทกรรมตงฉิน กังฉิน ในประวัติศาสตร์สงครามฝิ่น อ่าน “การล่มสลายของราชสำนักแห่งสวรรค์: ย้อนศึกษาสงครามฝิ่น”
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 204-215
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2557
|
อักษรและรัฐ: การปฏิรูปอักษรจีนในปลายราชวงศ์ชิงถึงสาธารณรัฐจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 26
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์
|
2549
|
จาก "หัวเฉียว" ถึง "หัวอื้" ความคิดตกผลึกจากหนังสือ "สรรนิพนธ์หวาง เกิงอู่--การอพยพย้ายถิ่นฐานกับศัตรูของการอพยพ"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่1 ฉบับที่1 หน้า 219-235
|
|
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์, สรพงษ์ ลัดสวน
|
2558
|
อ่านวรรณกรรมไทยพากษ์จีนในสังคมไทยยุคพัฒนา
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 95-127
|
|
กรรณิกา สงวนสินธุกุล, วิญญู อาจรักษา
|
2562
|
การศึกษาอัตลักษณ์ทางสถาปัตยกรรมในความสัมพันธ์กับย่านมรดกชุมชนเมือง: กรณีศึกษา: พื้นที่ถนนเยาวราช
|
วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 หน้า 152 - 166
|
|
กรรณิฐา เมธีรัตนไพศาล
|
2557
|
“ห้องเหล็ก” จินตภาพในผลงานเรื่องตะโกนก้องและละล้าละลัง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 24
|
|
กรศิริ คตภูธร, ชูชิต ชายทวีป
|
2557
|
การศึกษาหลักจริยศาสตร์ของขงจื้อ
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 หน้า 12 ถึง 24
|
|
กฤดิ์มณี พลประถม, รุจี ศรีสมบัติ, กาญจนา อินทรสุนานนท์
|
2558
|
การศึกษาวงดนตรีหล่อโก้ว สมาคมฮั่วเคี้ยวเฮียบหวย อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร
|
วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 104 - 112
|
|
กฤต ศรียะอาจ
|
2560
|
แนวคิดเรื่องทางสายกลางของขงจื๊อ
|
วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 128-135
|
|
กฤตพร มานุรัตนวงศ์, สุรีย์ ชุณหเรืองเดช
|
2562
|
การศึกษาเปรีบเทียบวรรณกรรมคำสอนสตรีของจีน กับวรรณกรรมคำสอนสตรีของไทยในลักษณะเดียวกัน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 148 - 184
|
|
กฤติยาภรณ์ โตสมภาพ, พรพรหม ชมงาม
|
2565
|
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางสังคมกับการตัดสินใจชมละครจีน ของ Generation Z ในเขตกรุงเทพมหานคร
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
กฤษฎา แก้วเกลี้ยง
|
2555
|
ความเป็นท้องถิ่นกับวัฒนธรรมจีนที่เข้ามาในสังคมไทยกรณีศึกษา รูปแบบประเพณีและคติความเชื่อที่ผสมผสานระหว่างไทยกับจีน
|
วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 หน้า 29-57
|
|
กัญจิรา วิจิตรวัชรารักษ์
|
2561
|
นโยบายต่างประเทศของจีนกับความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
วารสารวิชาการแสงอีสาน มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 196-214
|
|
กัญญ์วรา เจนพินิจกุล, เกวลี เพชราทิพย์
|
2566
|
ภาพลักษณ์ประเทศไทยผ่านรายการโทรทัศน์จีน : กรณีศึกษารายการวาไรตี้ ทอล์กโชว์ “ซื่อเจี้ยชิงเหนียนซัว”
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กองส่งเสริมแการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|
|
กันย์สินี จตุพรพิมล
|
2557
|
การแปลชื่อสถานที่ท่องเที่ยวภาษาไทยเป็นภาษาจีน
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 หน้า 226-244
|
|
กัลยาณี กฤตโตปการกิต
|
2563
|
สำนวนจีน : ภาพสะท้อนโลกทัศน์ของชาวจีนต่อสตรีจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 271-301
|
|
กัลยาณี กฤตโตปการกิต
|
2562
|
กลวิธีทางวาทศาสตร์ในคำขวัญสิ่งแวดล้อมภาษาจีน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 64-99
|
|
กัลยาณี กฤตโตปการกิต
|
2562
|
การศึกษาดัชนีปริจเฉทภาษาจีนที่ปรากฏในหนังสือเรียนการพูดภาษาจีนกลางชุด "Short-term Spoken Chinese"
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 139-155
|
|
กัวเสวี่ยฮุ่ย, ณัฐกานต์ ทวีวัฒนเศรษฐ์
|
2567
|
การศึกษาข้อผิดพลาดและการเรียนรู้การใช้คําไม่แท้ “了” ของผู้เรียนภาษาจีนชาวไทยที่มีระดับความรู้ทางภาษาต่างกัน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้า 24- 43
|
|
กำพล ปิยะศิริกุล
|
2560
|
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับอาชีวศึกษา
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 73 - 101
|
|
กิตติธน ยงประพัฒน์
|
2556
|
"บทบาทของภาษาแม่ที่ส่งผลต่อกระบวนการเรียนรู้ภาษาที่สอง" แปลและเรียบเรียงโดย ปฏิพัทธ์ ชัยมงคล
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 240-258
|
|
กิตตินันท์ เครือแพทย์, ปัญญา เทพสิงห์, เกษตรชัย และหีม
|
2566
|
การสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีตรุษจีนในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา : เปรียบ เทียบการสืบทอดก่อนและในช่วงวิกฤต โควิด-19
|
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
กิตติพศ พุทธิวนิช
|
2566
|
"บทบาทของสีจิ้นผิงในการเปลี่ยนแปลงสถาบันความสัมพันธ์ระหว่างพรรคกับรัฐในการเมืองจีน ในช่วงสมัชชาที่ 18, 19 และ 20"
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา "ปีที่ 43 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 100-121"
|
|
กิตยุตม์ กิตติธรสกุล, เเพรวา รัตนทยา
|
2566
|
การสร้างสำนึกความเป็นชาติผ่านบทเพลงรักชาติจีน ตั้งแต่ ค.ศ. 1921 ถึง ค.ศ. 1976
|
วารสารพิฆเนศวร์สาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
|
|
กุนทรา ไชยชาญ
|
2562
|
การพัฒนาทักษะการแสดงเพื่อสร้างตัวละครผู้หญิงจีนในการแสดงเรื่อง รายละเอียด ไม่ได้ร่างกาย อยาก ของ ชิน วุน ปิง ตามหลักการแสดงของไมเคิล เชคอฟ
|
วารสารศิลป์ปริทัศน์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 23-35
|
|
กุลนรี นุกิจรังสรรค์
|
2565
|
ชาวจีนอพยพใหม่ในภาคอีสาน: สถานการณ์ แรงจูงใจ และการประกอบอาชีพ
|
วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
กุลศิริ อังสนันท์สุข, กนกพร นุ่มทอง
|
2561
|
1 ทศวรรษนวนิยายจีนแนวพาฝัน: กรณีศึกษานวนิยายมากกว่ารักที่ตีพิมพ์ในปี พ.ศ. 2551-2560 ของสำนักพิมพ์แจ่มใสกับสังคมไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 125-142
|
|
กุสุมา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
|
2518
|
บทบาทของจีนในอนาคตของความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอินโดจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 95-122
|
|
เก็จวิรัล ตั้งสิริวัสส์, วนิดา ชูเกียรติวัฒนากุล, ทรรศนีย์ โมรา, Wei Jie
|
2560
|
การเรียนรู้ภาษาจีนเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ของนักศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 582-591
|
|
เกตุมาตุ ดวงมณี
|
2548
|
ภาษาจีน : หนึ่งในภาษาสำคัญของโลก
|
วารสารปาริชาต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 62 - 67
|
|
เกรียงไกร กองเส็ง
|
2561
|
“ผี” ในสำนวนจีน : โลกทัศน์ของชาวจีนต่อมนุษย์และธรรมชาติ
|
วารสารมังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 20
|
|
เกรียงไกร กองเส็ง, สุภาวดี ยาดี
|
2562
|
"แผนภูมิสวรรค์" (????) กับการถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านคำทำนาย
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 หน้า 11-45
|
|
เกรียงไกร เกิดศิริ, ธนิก หมื่นคําวัง
|
2560
|
รูปทรง และการจัดวางที่ว่างภายในเรือนพื้นถิ่นไทลื้อ : บ้านแปน เมืองนุน สิบสองปันนา ยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
หน้าจั่ว ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 172 - 197
|
|
เกียงไกร กองเส็ง
|
2559
|
“ร่างกายภายใต้บงการ” การเปลี่ยนแปลงความหมาย “ความงาม” บนเรือนร่างสตรีไทย-จีนตามวิถีสมัยใหม่
|
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 235-249
|
|
แก้วตา จันทรานุสรณ์
|
2554
|
การสร้างตนและการสั่งสมทุนทางวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 28 ฉบับที่ 3 หน้า 125-148
|
|
ขจัดภัย บุรุษพัฒน์
|
2515
|
นโยบายผสมกลมกลืนของรัฐบาลไทยต่อชาวจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม หน้า 11
|
|
ขวัญใจ สุขก้อน, วิโรจน์ แกล้วกล้าหาญ
|
2563
|
การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการท่องเที่ยวเยาวราชยุคใหม่
|
วารสารเพื่อการออกแบบ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 12 - 20
|
|
ขวัญดาว มาอยู่
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการใช้คำถามโดยใช้คำปฤจฉาสรรพนามคำว่า "??" ในภาษาจีน และคำว่า "อะไร" ในภาษาไทย
|
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 239-249
|
|
ขวัญดี รักพงศ์
|
2520
|
วิวัฒนาการของวรรณกรรมจีน แบบจีนและเกี่ยวกับจีนในภาษาไทย
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 7 หน้า 102-134
|
|
ขวัญดี อัตวาวุฒิชัย
|
2528
|
อิทธิพลของวรรณกรรมจีนต่อวรรณกรรมและสังคมไทยสมัยต้นรัตนโกสินทร์
|
การสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาสงานฉลองครบรอบ 10 ปี ความสัมพันธ์ไทย-จีน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2525
|
ปัญหาของสหรัฐอเมริกาที่จะขายอาวุธให้จีน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 1-11
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2510
|
ระบบการบริหารรัฐการด้วยเร็ดการ์ด
|
วารสารข้าราชการ ปีที่ 12 ฉบับที่ 7 หน้า 36-38 ถึง ปีที่ 12 ฉบับที่ 9 หน้า 18-27
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2523
|
นโยบายพัฒนาชนบทของจีนในยุคหลังเหมา
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 21-33
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2522
|
ปัญหาและทิศทางของการศึกษาในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ 2 หน้า 160-178
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2521
|
สัมพันธภาพไทย-จีน ปัญหาและลู่ทางในอนาคต
|
วารสารเศรษฐกิจ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด) ปีที่ 10 เล่ม 10 หน้า 636-652
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2519
|
กรรมกรและชาวไร่ชาวนาในจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 หน้า 50-56
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2519
|
การพิพาทเรื่องพรมแดน
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 97-100
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2519
|
จีนกับสหรัฐอเมริกา
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 72-89
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2519
|
ลักษณะบางประการในกระบวนการทางการเมืองของจีน
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 หน้า 5-15
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2518
|
การเปลี่ยนแปลงของสถาบันครอบครัวในจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 47-55
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2517
|
ไทยควรจะค้าอะไรและค้าอย่างไรกับจีน
|
วารสารธนาคารกรุงศรีอยุธยา ปีที่ 4 เล่มที่ 1 หน้า 1-9
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2517
|
ไทยจะค้ากับจีนไปทำไม
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน เล่มที่ 47 หน้า 1-65
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2517
|
จีนกับขบวนการคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 หน้า 18-36
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2516
|
รัฐบาลของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 หน้า 54-65
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2516
|
นโยบายและกลยุทธ์ของสาธารณรัฐประชาชนจีนต่อไทย
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 5 หน้า 57-66
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2516
|
การค้าต่างประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารเศรษฐกิจการพาณิชย์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 24 หน้า 11-19
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2516
|
"สัมภาษณ์ ดร.เขียน ธีระวิทย์ เกี่ยวกับ การศึกษาในประเทศจีน" โดย กองบรรณาธิการ
|
วิทยาสาร ปีที่ 24 ฉบับที่ 37 หน้า 9-13
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2515
|
การสถาปนาระบอบสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 หน้า 39-59
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2515
|
ระบบการปกครองภายในจีน
|
ปาจารยสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 หน้า 78-84
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2514
|
จีนคอมมิวนิสต์ สหรัฐอเมริกา กับอาเซียอาคเนย์
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 หน้า 14-33
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2513
|
ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับดาวเทียมของจีนคอมมูนสต์
|
วารสารข้าราชการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 11 หน้า 38-40
|
|
เขียน ธีระวิทย์
|
2508
|
การเก็บค่านาของจีนในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปี 3 ฉบับที่ 2 หน้า 216-221
|
|
คมกริช การินทร์, หลิว เหวิน จั๋ว
|
2562
|
เพลงพื้นบ้านถู่เจีย เมืองฉงชิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 หน้า 31-40
|
|
คันธรส วิทยาภิรมย์
|
2556
|
การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นภาษาจีนธุรกิจเพื่อการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 259-276
|
|
จตุรวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2564
|
การศึกษาแนวคิดด้านความกตัญญูในลัทธิขงจื๊อผ่านคัมภีร์สี่จตุรปกรณ์
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 หน้า 255 - 287
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2566
|
บทความวิจัยการศึกษาแนวคิดสํานักขงจื๊อในคัมภีร์จงยง A Study of Confucian Aspects in Zhongyong
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 43 ฉบับที่ 2 หน้า 123-139
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2560
|
การศึกษาที่มาของความหมายและวิธีการสร้างคำ “ลายสือ” ในเอกสารจีน
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 หน้า 217 - 246
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2560
|
การศึกษากลวิธีการแปลทับศัพท์ของพยัญชนะต้น [r] ในบทธารณีสูตรของพระอโมฆวัชระ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 39 - 52
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2559
|
ความหมายของสัทวิทยาภาษาจีนโบราณ
|
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 หน้า 22-38
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2558
|
การประชุมวิชาการระดับชาติจีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 1
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 298 หน้า
|
|
จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2552
|
อรรถศาสตร์เชิงเปรียบเทียบความคลุมเครือระหว่างภาษาไทยกับภาษาจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 15-25
|
|
จรัญญา วิชัยประเสริฐศรี
|
2551
|
การเปรียบเทียบคำวิเศษณ์ JIU และ CAI ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 173-216
|
|
จรัสศรี จิรภาส
|
2566
|
ยง อิงคเวทย์บรมครูผู้บุกเบิกงานแปลกวีนิพนธ์จีนโบราณ:ผลงานและอัตลักษณ์ The Eminent Pioneer Translator of Chinese Classical Poetry, Yong Ingkawate: Works and Identities
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 43 ฉบับที่ 2 หน้า 239-263
|
|
จรัสศรี จิรภาส
|
2562
|
ลักษณะเฉพาะตัวของการแพร่กระจายวรรณกรรมร้อยกรองจีนโบราณของไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 106-118
|
|
จรัสศรี จิรภาส
|
2562
|
"ศึกษาไทย" และ "ไทยศึกษา" ในประเทศจีน
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 หน้า 94-118
|
|
จรัสศรี จิรภาส
|
2551
|
"นักษัตรหมายเลขหนึ่ง "ชวด" ในภาษาและวัฒนธรรมจีน" ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 หน้า 28-35
|
|
จริยา วาณิชวิริยะ, อัญชลี ทองเอม
|
2563
|
สำนวนจีน: เจตนาการใช้
|
วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 110 หน้า 227 - 240
|
|
จักรกฤษณ์ เกษกาญจนานุช, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ
|
2563
|
กระบวนการกลายของขนมแบบฉบับแต้จิ้วประจำเทศกาลจีนในสังคมไทย
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 100-132
|
|
จักรพงษ์ ชดช้อย
|
2562
|
การศึกษาปรัชญาชีวิตมนุษย์ในมุมมองของหวังหยางหมิง
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 หน้า 15-24
|
|
จันทร์ฉาย ภัคอธิคม
|
2518
|
ปัญหาจีน : การศึกษาตัวอย่างกรณีข้อขัดแย้งในพรรคเสรีประชาธิปไตยของญี่ปุ่น
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 102-119
|
|
จาง ลี่เหวิน
|
2550
|
การสร้างสันติสุขด้วยปรัชญาขงจื๊อ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 1 หน้า 220 - 225
|
|
จางเซ่าฝาน เซ่าหยี อู๋จื้อปิน ชาดา บุนนาค และ อามีนะฮ์ เบ็ญสะอาด
|
2567
|
การศึกษาวิเคราะห์ภาษาถิ่นรุ่ยชางในเชิงภาษาศาสตร์เชิงนิเวศ : กรณีศึกษาคําศัพท์เรียกเครือญาติ
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 66 - 87
|
|
จารุทัศน์ กาญจนอักษร, วรรณวิภา สุเนต์ตา
|
2562
|
โครงการออกแบบเครื่องประดับอวยพร จากสัญลักษณ์มงคลแบบจีน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 12 ฉบับที่ 4
|
|
จารุวัฒน์ ชาติประเสริฐ
|
2531
|
การเมืองจีนในทศวรรษ 1980 : ชัยชนะของเติ้งเสี่ยวผิง
|
วารสารสถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 88-89
|
|
จ้าว เผิง, วีรวัฒน์ อินทรพร
|
2567
|
การวิเคราะห์อัตลักษณ์ท้องถิ่นในนิทานพื้นบ้านชนเผ่าหลีของจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 325-353
|
|
จำเรียง ภาวิจิตร
|
2524
|
สังคมวิทยาในจีน
|
วารสารสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ปีที่ 1 เล่มที่ 1 หน้า 212-220
|
|
จิ้ง เสิ่น, เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา, รุจิรา เส้งเนตร
|
2562
|
การเปรียบเทียบการขยายความหมายของคำว่า “กิน” ในคำประสมที่เป็นรูปแบบกริยา+กรรมในภาษาไทยและภาษาจีน
|
มนุษยสังคมสาร (มสส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้า 67-84
|
|
จิตตาภรณ์ กล่อมแดง, อรุณวรรณ มุขแก้ว, จีรณัทย์ วิมุตติสุข
|
2560
|
วัฒนธรรมการแต่งกายบาบ๋าจังหวัดพังงา
|
วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 36 - 47
|
|
จิตติ เอื้อนรการกิจ
|
2561
|
การสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัยของจีน (เกาเข่า): มุมมองเชิงอำนาจ
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 279-288
|
|
จิตรลัดดา สวัสดิพงษ์, เชิดชัย ผาสุพงษ์
|
2549
|
ความแตกต่างของภาษาจีนในประเทศจีนและไต้หวัน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 13-21
|
|
จินซี่ตุง แปลโดย ฝางยิง
|
2528
|
ศิลาจารึก กุบไล่-ข่าน พิชิตน่านเจ้า
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 หน้า 96-99
|
|
จินดานันท์ บำรุงจิตร
|
2563
|
ความสัมพันธ์ระหว่างอินเดียกับจีน ระหว่าง ค.ศ. 1991 – 2014
|
วารสารวิชาการ มหาวิยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 หน้า 99 - 113
|
|
จินดาพร พินพงทรัพย์
|
2561
|
กลวิธีการตั้งชื่อภาพยนตร์ไทยเป็นภาษาจีน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 ต่อ 1471-1491
|
|
จินดาพร พินพงทรัพย์
|
2556
|
การศึกษาลักษณะนิสัยของคนไทยในช่วงก่อนและหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 93-101
|
|
จินต์ชุตา ศาสตร์สมัย
|
2558
|
วรรณยุกต์ภาษาจีนฮากกา (แคะ) ถิ่นเฟิงชุ่น ของผู้พูดทวิภาษาจีนฮากกา-ไทยถิ่น
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 หน้า 214-238
|
|
จินตนา ธันวานิวัฒน์
|
2546
|
ความรักและปรัชญาชีวิตในกวีนิพนธ์ของสวีจื้อหมัว
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 หน้า 110-135
|
|
จินตนา วิเศษจินดา, สมพงษ์ จิตระดับ
|
2561
|
แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 445-455
|
|
จินตวัฒน์ ศิริรัตน์
|
2567
|
โอลิมปิกฤดูหนาวกรุงปักกิ่งปี 2022: ความพยายามปรับภาพลักษณ์ของจีนอีกครั้งหนึ่ง
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 384-411
|
|
จิรเมธ รุ่งเรือง
|
2566
|
การศึกษาการพึ่งพาวัฒนธรรมกวนซี่ของกลุ่มชาวจีนอพยพใหม่ในจังหวัดภูเก็ต A Study of the Guanxi Culture Dependency of the New Chinese Migrants in Phuket
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 13-25
|
|
จิรเมธ รุ่งเรือง
|
2560
|
ทัศนคติด้านลบต่อชาวจีนจากมุมมองของไทย
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 273-292
|
|
จิรเมธ รุ่งเรือง
|
2554
|
การค้าระหว่างประเทศไทยและมณฑลกวางตุ้ง: ปัญหาและข้อเสนอแนะ
|
วารสารไทยศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 59 - 71
|
|
จิราพร เนตรสมบัติผล, เดชา ชาติวรรณ
|
2562
|
ทัศนะของนักท่องเที่ยวชาวจีนที่มีต่อป้ายภาษาจีนในแหล่งท่องเที่ยวสำคัญของกรุงเทพมหานคร
|
วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 99-107
|
|
จิราภรณ์ ภัทราภานุภัทร
|
2527
|
สำนวนจีนและสำนวนไทย : การศึกษาเปรียบเทียบ
|
วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 73-79
|
|
จื่อหยวี หลี่, ศรีวิไล พลมณี, ขวัญใจ กิจชาลารัตน์
|
2563
|
เปรียบเทียบนวนิยายเรื่องนาคีของไทยกับตำนานเรื่องนางพญางูขาวของจีน
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 47-53
|
|
จุฑามาศ ประมูลมาก, สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2554
|
ตำนานว่าด้วย “ธิดาพระเจ้ากรุงจีน” ในสังคมสยาม
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 44-68
|
|
จุรี สุชนวนิช
|
2561
|
การเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีที) : กรณีศึกษา ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 1-13
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2530
|
ความร่วมมือทางทหาร : มิติใหม่ในความสัมพันธ์ไทย-จีน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 7-19
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2526
|
นโยบายต่างประเทศจีนในปัจจุบัน
|
สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 11 หน้า 49-51
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2525
|
พลิกแผ่นดินจีน : เติ้ง เสี่ยวผิงกับการประชุมสมัชชาพรรคคอมมิวนิสต์ ครั้งที่ 12
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน ฉบับที่ 97 หน้า 3-59
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2525
|
ยุทธศาสตร์ทางทหารของจีน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 61-77
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2523
|
ความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองในจีน
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน ฉบับที่ 85 หน้า 42-70
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2523
|
นโยบายต่างประเทศของสาธารณรัฐประชาชนจีน : อดีตถึงปัจจุบัน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 83-105
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2522
|
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับเวียดนาม : เมื่อสหายกลายเป็นศัตรู
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 เล่มที่ 4 หน้า 2-15
|
|
จุลชีพ ชินวรรณโณ
|
2522
|
การเมืองภายในกับนโยบายต่างประเทศของจีน
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 121-141
|
|
จุลชีพ ชินวรรโณ
|
2532
|
จีนศึกษาในประเทศไทย
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 หน้า 93-130
|
|
จุฬณี ตันติกุลานันท์
|
2567
|
หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง: มองผ่านมาเลเซียบนเส้นทางความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจ และการเมืองภายในประเทศที่มีต่อจีน
|
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 31 หน้าที่ 1-13
|
|
จุฬารัตน์ คำน้อย, หลิวชู ชู, จิ้น หลิง
|
2561
|
การสร้างคลังข้อมูลและวิเคราะห์การเขียนตัวอักษรจีนผิดของนักศึกษาไทย ระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษาสำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 102-119
|
|
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา
|
2559
|
แนวคิดจักรวาลวิทยาอู่สิงอันส่งผลต่อระบบการปกครองโบราณของจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 51-70
|
|
จุฬาลักษณ์ ปลื้มปัญญา
|
2555
|
ปริมณฑลสาธารณะ (public sphere) ในประวัติศาสตร์จีนปลายราชวงศ์ชิง (1840s-1810s)
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 111-127
|
|
เจวียน หยัง
|
2562
|
การวิเคราะห์ลักษณะเด่นและที่มาของคำศัพท์ภาษาจีนในสหรัฐอเมริกา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 70 - 90
|
|
เจษฎา นิลสงวนเดชะ
|
2561
|
ศาลเจ้าจีน : ศรัทธาสถานในสังคมไทย
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 หน้า 45-70
|
|
เจษฎา นิลสงวนเดชะ
|
2559
|
กระบวนการมีส่วนร่วมในการสืบทอดพิธีกรรมอัญเชิญพระกิวหองไต่เต่ออกแห่รอบเมือง
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 หน้า 200 - 222
|
|
เจษฎา นิลสงวนเดชะ
|
2557
|
การศึกษาภาพและคำมงคลจากภาพพิมพ์แกะสลักไม้อวยพรตรุษจีน กรณีศึกษาหมู่บ้านหยางหลิ่วชิง นครเทียนจิน สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 76-91
|
|
เจษฏา นิลสงวนเดชะ
|
2558
|
"กวหองเส่งโห่ย" พิธีกรรมและความเชื่อของประเพณีกินเจในสังคมไทย : กรณีศึกษาศาลเจ้ากิวอ่องเอี่ย จังหวัดตรัง "
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 "ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม"
|
|
เจินเจิน เหยียน, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การสืบสานและพัฒนาสุราเหลืองเมืองไต้โจวมณฑลซานซี
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 1- 23
|
|
เจี้ยน กวอ, นรชาติ วัง
|
2561
|
การวิเคราะห์นโยบายด้านยุทธศาสตร์ "ยุคสมัยใหม่" ของประธานาธิบดีสีจิ้นผิง
|
วารสาร MFU Connexion ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 198-222
|
|
โจว ฟาง, ภรดี พันธุภากร
|
2567
|
นวัตกรรมประติมากรรมเครื่องเคลือบสมัยใหม่ของโจวกั๋วเจิน
|
วารสารศิลปกรรมบูรพา ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 หน้า171-184
|
|
ฉัตรณพัฒน์ รักสัตย์ ขวัญใจ กิจชาลารัตน์ วุฒิชัย สืบสอน
|
2566
|
กลวิธีการแปลหนังสือราชการทางการทูตจากจีน-ไทย CHINESE-THAI TRANSLATION STRATEGIES OF DIPLOMATIC NOTES
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 77-93
|
|
ฉิน ซิ่วหง
|
2555
|
นามวลีในภาษาจ้วงปัจจุบัน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 6 หน้า 202 - 242
|
|
ฉิน ซิ่วหง
|
2555
|
นามวลีในภาษาจ้วงปัจจุบัน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 6 หน้า 202-242
|
|
ฉิน เหวินตัน, อู๋ เซิ่งหยัง
|
2559
|
การตีความนวนิยายเรื่องสี่แผ่นดินในทัศนคติของจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 73-107
|
|
ฉี เสวียหง, ตุลยนุสรญ์ สุภาษา
|
2560
|
การศึกษาปัญหาการออกเสียงภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
|
วารสารบัณฑิตวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 115 - 124
|
|
ฉุน ประภาวิวัฒน์
|
2518
|
คอมมูนกับการศึกษาของจีนแดง
|
เกษม ฉบับที่ 127 หน้า 35-38
|
|
เฉิงเซี่ง
|
2530
|
"ภาพเขียนสีสมัยก่อนประวัติศาสตร์ที่ซางหยวน มณฑลหยุนหนาน" เก็บความจาก Neolitic Rock Art โดย มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
เมืองโบราณ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 95-99
|
|
เฉิงเหวินห่าย (ผู้เรียบเรียง)
|
2527
|
"คำแปลศิลาจารึก พระเจ้าหงวนซี่โจ๊ (กุบลายข่าน) พิชิตยูนนาน" โดย ยง อิงคเวทย์
|
แถลงงานประวัติศาสตร์เอกสารโบราณคดี ปีที่ 18 เล่ม 1 หน้า 95-102
|
|
เฉิน เจี้ยน
|
2552
|
"การเรียนการสอนวิชาการฟังภาษาจีนกลาง สำหรับผู้เรียนชาวต่างชาติ" แปลและเรียบเรียงโดย จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 32-47
|
|
เฉิน หรงหลิน
|
2559
|
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการแปล “พจนานุกรมไทย-จีน” ฤ พินิจพิเคราะห์ร่วมกับคุณเธียรชัย เอี่ยมวรเมธ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 171-201
|
|
เฉินตง เหมย, ธนานันท์ ตรงดี, ดุจฉัตร จิตบรรจง
|
2557
|
การสร้างคำเรียกสีของชาวจีนที่มีช่วงอายุต่างกัน
|
วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 หน้า 23-32
|
|
เฉินหลี่ฟัน แปลและเรียบเรียงโดย ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี
|
2527
|
การวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับโบราณศิลปวัตถุสถานที่สำคัญของอาณาจักรน่านเจ้าและต้าหลี่
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 62-84
|
|
ช. ศรีงิ้วราย
|
2530
|
เบื้องหลังการดำเนินนโยบายเปิดประตูของจีน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 6 ฉบับที่ 1-2 หน้า 189-194
|
|
ชญาพร เชาว์ศิริกุล
|
2566
|
การศึกษารูปแบบชื่อย่อมหาวิทยาลัยในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
|
|
ชนกพร ทองตากรณ์, สมปฤณ นิยมไทย์
|
2561
|
การวิเคราะห์ "นโยบายเส้นทางสายไหมในคริสต์ศตวรรษที่ 21" ของจีน
|
วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 95-126
|
|
ชนัญญา พวงทอง
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบการออกเสียงคำศัพท์ในภาษาจีนกลางและภาษาม้ง
|
วารสารมังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 27-38
|
|
ชนาใจ หมื่นไธสง, บดี ปุษยายนันท์, ภัทร์ธีนันท์ หมื่นไธสง
|
2562
|
นโยบายต่างประเทศของจีน ‘หนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง’กับปรากฏการณ์ในจังหวัด หนองคาย อุดรธานี ขอนแก่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 หน้า 55-94
|
|
ชนิกานต์ รัตนชัยไพศาลกุล
|
2563
|
โครงการการบูรณาการวิชาการสอนภาษาจีนโดยใช้กิจกรรมค่ายภาษาจีนเพื่อพัฒนาความรู้ภาษาจีนและวัฒนธรรมจีนในโรงเรียนขนาดเล็ก (โรงเรียนวัดหัวไทร)
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 257 - 274
|
|
ชมพูนุท รัตนเลิศนาวี, เพชรรุ่ง ส.สกุล, อุมาพร สกุลเกียรติพจนา
|
2560
|
สอนภาษาจีนผ่านภาพยนตร์จีนเรื่อง “ปริศนาน้ำเต้าวิเศษ”
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้า 151-170
|
|
ชลธิชา ทีฆมงคล, ชัญญพร จาวะลา
|
2566
|
วาทกรรมชาตินิยม ‘อาจง’ (阿中) ในคอมเมนต์บนแพลตฟอร์มเวยป๋อ ‘A-Zhong’ Nationalist Discourse in Comments on Weibo
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 105-125
|
|
ชลอ ช่วยบำรุง
|
2527
|
พระเจ้าตาก แต่งทูตไปเมืองจีน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 12 หน้า 96-103
|
|
ชวนพิศ เทียมทัน
|
2557
|
การวิเคราะห์พาดหัวข่าวในหนังสือพิมพ์เหรินหมินรื่อเป้าและ ซินหวารื่อเป้าในแง่ความหมายของคำศัพท์ โครงสร้างวลีและประโยค
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 1-32
|
|
ชวาลิน เพ่งบุญ, นพวรรณ เมืองแก้ว, อธิปัตย์ นิตย์นรา, พิชัย แก้วบุตร
|
2563
|
สตรีนิยมผ่านตัวละครเพศหญิง: กรณีศึกษา "ไป๋อิ๋นน่า หมู่บ้านลับลี้ริมฝั่งน้ำ" พระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 180-204
|
|
ชัชศรัณย์ ฉัตรแสงอุทัย
|
2560
|
ปริทัศน์การจำแนกคำเชื่อมในภาษาจีนกลาง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 ฉบับ 308-342
|
|
ชัญญพร จาวะลา
|
2558
|
คำยืมภาษาไทยในภาษาจีนแต้จิ๋วกรุงเทพ: ประเภทของคำยืมและการแปรของคำศัพท์ตามรุ่นอายุ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 81 - 129
|
|
ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย
|
2557
|
การเปลี่ยนแปลงทางเสียงและความหมายของคำยืมภาษาไทยในภาษาจีนแต้จิ๋วกรุงเทพ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 8 หน้า 65 - 97
|
|
ชัญญพร ปริญญาวุฒิชัย
|
2554
|
การใช้ภาษาในโลกไซเบอร์ของนักแชทชาวจีน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 95-123
|
|
ชัญญภัค โตเจริญบดี, สืบพงศ์ ช้างบุญชู
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนที่มีคำว่า ปาก ในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 239 - 261
|
|
ชัยวัฒน์ มีสันฐาน
|
2566
|
ชาวจีนในมาเลเซีย: การเข้ามาและการตั้งถิ่นฐาน
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กองส่งเสริมแการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|
|
ชาคริต ศิริรัตน์, มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด, คมสัน สุริยะ, ปิยะลักษณ์ พุทธวงศ์
|
2550
|
ความสามารถในการแข่งขันของสินค้าเกษตรส่งออกของไทยไปยังประเทศจีน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1-3 หน้า 50-70
|
|
ชาญณรงค์ เตชะรัชต์กิจ
|
2516
|
แนะนำสาธารณรัฐประชาชนจีน : ประชุมใหญ่พรรคคอมมูมิสต์จีนครั้งที่ 10
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 11
|
|
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
|
2524
|
หลีต้าเจาและปรัชญาประวัติศาสตร์มาร์กซีสต์ของจีน
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 เล่มที่ 1 หน้า 92-110
|
|
ชาติ ภาสวร
|
2558
|
การศึกษาวิวัฒนาการเชิงสัญลักษณ์และความหมายของลวดลายประดับจีนตามขนบ
|
วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 63-71
|
|
ชิดหทัย ปุยะติ
|
2560
|
สตรีนิยมกับอุดมการณ์รักชาติใน "หญิงสาวชาวสำเพ็ง"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 30
|
|
ชิดหทัย ปุยะติ
|
2554
|
พัฒนาการและลักษณะเด่นของวรรณกรรมจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 71-91
|
|
ชินดนัย ธีระพันธุ์พิเชฏฐ์
|
2562
|
จีนกับการใช้เครื่องมือทางเศรษฐกิจในการต่อรองระหว่างประเทศ: ศึกษากรณีเกาะเซนกากุ/เตียวหยู
|
วารสาร MFU Connexion มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 299-344
|
|
ชิว ซูหลุน
|
2551
|
แนวคิดหลักอมตะวรรณคดีจีน ความฝันในหอแดง
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 50-60
|
|
ชิว ซูหลุน
|
2550
|
เซนกับกวีจีน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 1 หน้า 1 - 8
|
|
ชิว ซูหลุน
|
2550
|
พุทธกวีหวาง เหวย์
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 1 หน้า 9 - 18
|
|
ชิวเสวียนชง และเจียงหวยอิง
|
2531
|
"เปิด 'กรุน่านเจ้า' เจดีย์สามองค์แห่งต้าหลี่ (ตาลีฟู)" แปลและเรียบเรียงจาก พระธาตุเจดีย์สามองค์แห่งวัดฉงเซิ่ง โดย ทองแถม นาถจำนง
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 หน้า 58-66
|
|
ชุติระ ระบอบ
|
2566
|
ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทยกับโอกาสในการเข้าสู่ตลาดทาง ตอนใต้ของจีน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
ชุติระ ระบอบ, ชีรวิทย์ สุรีรัตนันท์, คมสัน สนองพงษ์
|
2559
|
โซ่อุปทานอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศจีน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 199 - 214
|
|
ชุติระ ระบอบ, ชีรวิทย์ สุรีรัตนันท์, พิษณุ วรรณกูล
|
2562
|
การพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 198-215
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2522
|
บนเส้นทางไปสู่มหาอำนาจน้ำมันของจีน
|
เศรษฐกิจ ปีที่ 2 ฉบับที่ 87 หน้า 32-35 ถึง ปีที่ 2 ฉบับที่ 93 หน้า 26-31
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2519
|
การปฏิวัติกับการสร้างชาติ ในนโยบายจีน
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 17-37
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2519
|
ความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับผู้นำจีน
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 100-105
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2519
|
โจว ; นักปฏิวัติปฏิบัติ
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 101-103
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2519
|
การแข่งขันระหว่างจีนกับโซเวียต และจุดยืนของสหรัฐในเอเชีย
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 หน้า 16-31
|
|
ชุมพร สังขปรีชา
|
2518
|
การบริหารงานพัฒนาอุตสาหกรรมและการจัดการการวิสาหกิจในจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 56-89
|
|
ชูชาติ กังวาลกิจมงคล
|
2514
|
การเจรจาระหว่างปักกิ่งกับวอชิงตันในปัญหาเอเชีย
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน เล่มที่ 32 หน้า 1-84
|
|
ชูพงษ์ ทองคำสมุทร
|
2554
|
สาระสำคัญเชิงวิทยาศาสตร์ในคติความเชื่อฮวงจุ้ย
|
วารสารวิชาการ สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 1 - 10
|
|
เชาวลี จงประเสริฐ
|
2524
|
บทบาทชาวจีนทางเศรษฐกิจสมัยต้นรัตนโกสินทร์
|
วารสาร มศว. ปทุมวัน ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 96-106
|
|
โชติกานต์ ใจบุญ, จริยา วาณิชวิริยะ
|
2565
|
การศึกษาสถานการณ์ที่บัณฑิตจะต้องเจอในการทำงานในแต่ละตำแหน่งอาชีพ และทักษะภาษาจีนของผู้มีอาชีพที่เกี่ยวข้องกับภาษาจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
ไชยสิทธิ์ ตันตยกุล
|
2555
|
ข้อคิดจากการศึกษาทางการทหารของจีน เพื่อสร้างความไว้วางใจระหว่างประเทศ
|
วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 หน้า 26-35
|
|
ซาน เห่วยซู, ชรินทร์ มั่งคั่ง, จารุณี มณีกุล
|
2562
|
มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางวัฒนธรรมจีนของนักเรียนไทย
|
วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 หน้า 121-136
|
|
ซุ่งเอินฉาง แปลโดย ช.ศรีงิ้วราย
|
2527
|
การหัตถกรรมและตลาดนัดในสังคมศักดินาชนเผ่าไตสิบสองปันนา
|
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 36-52
|
|
เซียวเล้งยี้
|
2550
|
“อาคิว ตัวละครอมตะในชีวิตจริง”ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 2 หน้า 28-30
|
|
ญาณกร ชลานุสนธิ์
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบความหมายโดยนัยของคำบอกทิศทาง “?” ในภาษาจีนกลางกับคำ "ใน" ในภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 181 - 208
|
|
ญาณาธิป เตชะวิเศษ
|
2558
|
ความหมายของ "ขบวนการขงจื๊อสมัยใหม่"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 245-269
|
|
ฐิตารัตน์ ศุทธะชัยอนันต์
|
2566
|
การศึกษาสถานการณ์แพทย์แผนจีนในระบบสาธารณสุขไทย
|
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
|
|
ฐิติมา กมลเนตร, อุมาพร ใยถาวร
|
2561
|
การประกอบสร้างความเป็นจีนในฐานะสินค้าทางวัฒนธรรมในชุดรวมเรื่องสั้นขนาดยาวเรื่อง Beautiful Days ของ เถิง เสี่ยวหลาน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 3309-3324
|
|
ฐิติวรรณ ชีววิภาส
|
2557
|
การศึกษาปริมาณของโครงสร้าง “คำบอกจำนวน+คำลักษณนาม (+คำนาม)” ที่มีคำกริยาวิเศษณ์ทำหน้าที่ขยายในภาษาจีนสมัยใหม่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 118-150
|
|
ฑภิพร สุพร
|
2562
|
การแข่งขันทางอำนาจระหว่างสหรัฐอเมริกาและจีนในยุคโอบามา : ข้อจำกัดของพันธมิตรอเมริกัน และความท้าทายเรื่องการ (ไม่) เลือกข้างในอุษาคเนย์
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 หน้า 304-322
|
|
ฑภิพร สุพร
|
2560
|
ย้อนพินิจการกล่าวอ้างกรรมสิทธิ์ของจีนในทะเลจีนใต้ : ปฏิสัมพันธ์ระหว่างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและกฎหมายระหว่างประเทศ
|
วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 85-113
|
|
ฑริดา ใบเกษม
|
2566
|
ไทย-จีน กับการบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการภายใต้กรอบความร่วมมือ ล้านช้าง-แม่โขง
|
วารสารธรรมศาสตร์ กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
|
|
ณฐ บุญธนาธีรโรจน์
|
2561
|
แนวทางการเรียนการสอนวิชาการพูดภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิผล: กรณีศึกษาในชั้นเรียนวิชาการพูดภาษาจีนระดับต้น
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 97-100
|
|
ณฐกมล ตนุพันธ์
|
2560
|
ศึกษาวิเคราะห์คุณธรรม ด้านความซื่อสัตย์ ตามหลักพระพุทธศาสนาของ ตัวละคร กวนอู ที่ปรากฏในวรรณกรรม เรื่อง สามก๊ก
|
วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 13 - 21
|
|
ณรงค์ พ่วงพิศ
|
2524
|
เบื้องหลังการปรับปรุงการหารายได้ในแผ่นดินพระนั่งเกล้าฯ บทวิเคราะห์ว่าด้วยการประสานประโยชน์ระหว่างชนชั้นปกครองกับชาวจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 72-88
|
|
ณรงค์ พ่วงพิศ
|
2519
|
บทบาทคนจีนในการประมูลภาษีอากร
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 5 เล่มที่ 2 หน้า 95-109
|
|
ณรงค์ พ่วงพิศ
|
2515
|
ความเคลื่อนไหวทางการเมืองของคนจีนในประเทศไทย ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 เล่มที่ 3 หน้า 1-12
|
|
ณรัณฐ์ อัครนิธิพิรกุล
|
2563
|
เทพเจ้าจิ่วหวางฝัวจู่ผลงานของช่างเป๋งซ้ง
|
ดำรงวิชาการ
|
|
ณัช ภิญโญวัฒนชีพ
|
2527
|
หู่ซื่อ จอห์น ดิวอี กับ 4 พฤษภาคม 1919
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 72-79
|
|
ณัฏฐนิจ แช่มสุวรรณวงศ์
|
2556
|
"?"ที่ไม่ได้แสดงความหมายถึงจำนวนตรงตามตัวเลขที่ปรากฏในระดับประโยค——การศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 7 หน้า 28-48
|
|
ณัฏฐนิจ แช่มสุวรรณหงส์
|
2556
|
ที่ไม่ได้แสดงความหมายถึงจำนวนตรงตามตัวเลขที่ปรากฏใน ระดับประโยค——การศึกษาเปรียบเทียบกับภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 7 หน้า 28 - 48
|
|
ณัฐกร วิทิตานนท์
|
2558
|
มังกรผงาด : ว่าด้วยการเดินทางท่องเที่ยวระหว่างประเทศโดย รถยนต์ในลุ่มน้ำโขงตอนบน
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 40 - 65
|
|
ณัฐกานต์ ทวีวัฒนเศรษฐ์
|
2563
|
การศึกษาแบบเรียนรายวิชาภาษาจีนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในด้านความสอดคล้องและต่อเนื่องกับแบบเรียนรายวิชาภาษาจีนหมวดวิชาศึกษาทั่วไปในระดับอุดมศึกษา ให้มีความพร้อมทางทักษะภาษาแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อสร้างนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 421-486
|
|
ณัฐชุดา เดชพ่วง, กนกพร ชัยประสิทธิ์
|
2561
|
ความสัมพันธ์ของปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกประเทศที่มีผลต่อการส่งออกทุเรียนไปสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 333-340
|
|
ณัฐฌาภรณ์ เดชราช
|
2562
|
ข้อบกพร่องเชิงวัจนปฏิบัติศาสตร์ในการใช้ภาษาไทยสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมของนักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์การเงินยูนนานประเทศจีน
|
วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 หน้า 165-176
|
|
ณัฐฌาภรณ์ เดชราช, ณพวัฒน์ ยงยืน
|
2566
|
วิเคราะห์ข้อบกพร่องการแปลบทเพลงซูมู่เจอ จากภาษาจีนเป็นภาษาไทย ผ่านมุมมองการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมจีน-ไทย
|
วารสารจีนวิทยา [Journal of Sinology] ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
|
ณัฐฌาภรณ์ เดชราช, พิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว
|
2566
|
การศึกษาพันธกิจและบทบาทด้านการวิจัยภาษาจีนของสถาบันขงจื่อในประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
|
ณัฐนันท์ ติยานนท์
|
2557
|
การศึกษาเปรียบเทียบนวนิยายจีน เจีย กับฉบับแปลภาษาไทย บ้าน
|
วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 1-26
|
|
ณัฐนันท์ ติยานนท์, ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2566
|
คุณลักษณะความเป็นหน่วยสร้างกริยาเรียงของประโยคภาษาไทยที่เป็นคู่เทียบ ความหมายของ หน่วยสร้างบุพบทวลี 把ในภาษาจีน
|
วารสารสาร ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
ณัฐปภัสร์ ชาญนนทวัฒน์, สุภัค มหาวรากร, ธเนศ เวศร์ภาดา
|
2561
|
ลักษณะเด่นในนวนิยายแปลจีน พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 152-181
|
|
ณัฐปภัสร์ ชาญนนทวัฒน์, สุภัค มหาวรากร, ธเนศ เวศร์ภาดา
|
2560
|
ความดีเป็นสิ่งที่มั่นคงและยั่งยืน: นวนิยายแปลจีน พระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 133-140
|
|
ณัฐพร แซ่เตีย, ธัญภา พลานุกูลวงศ์, บุญทิวา จันทรเจริญ
|
2559
|
การเปรียบเทียบประสิทธิผลทางการเรียนภาษาจีนของผู้เรียนที่ไปเรียนในประเทศจีนกับผู้เรียนในประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า132-160
|
|
ณัฐพล ขันธไชย, พนิดา ชินสุวพลา, นิคม เจียรจินดา
|
2561
|
ความมหัศจรรย์ของการพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ หน้า 161-177
|
|
ณัฐวุฒิ มีชัยโย, เจี้ยน กัว
|
2566
|
นโยบายคมนาคมของมณฑลเสฉวนภายใต้ยุทธศาสตร์ BRI และผลกระทบต่อ ประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
ณัฐวุฒิ เลาห์เจริญบัณฑิต
|
2562
|
แนวคิดในการวิพากษ์วิจารณ์การเมืองและสังคมจีนของอ้าย เว่ยเว่ย ผ่านผลงานศิลปะ
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 911-925
|
|
ณัฐสรัญ ลักษณะปีติ, ปรียาภรณ์ อิทธิพิสิฐ
|
2566
|
การศึกษาปรากฏการณ์สังคมไร้ความทะเยอทะยาน“ถั่งผิง”ของชาวจีนรุ่นใหม่: ปัจจัยและปัญหาA Study of a Society Without Ambition “TANGPING” in the New Generationof Chinese People: Factors and Problems
|
Thai Journal of East Asian Studies "ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 46-62"
|
|
ณัฐเสกข์ นาคสิทธิ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การแปลการกของคำนามในภาษากรีกเป็นภาษาจีน: กรณีศึกษาพระคริสตธรรมคัมภีร์ พระกิตติคุณมัทธิว 5-7
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปีที่ 53 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 24 - 43
|
|
ณัฐเสกข์ นาคสิทธิ์, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2565
|
หน่วยเสียงอักษรหมู่ 見 ในภาษาจีนยุคใกล้ : กรณีศึกษาการถ่ายถอดเสียงจากภาษา ฮีบรู สู่ภาษาจีนในพระคริสตธรรมคัมภีร์หมวดเบญจบรรณ
|
วารสารอักษรศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ดร. มาลิณี ดิลกวณิช
|
2524
|
เอกลักษณ์ไทยในสามก๊ก รูปแบบการประพันธ์
|
วารสารธรรมศาสตร์
|
|
ดร. มาลิณี ดิลกวณิช
|
2523
|
ความสำคัญของความคิดทางศาสนาพุทธในสามก๊ก
|
วารสารธรรมศาสตร์
|
|
ดร.วชิรวิชญ์ ตั้งธนานุวัฒน์
|
2565
|
การตีความสัญลักษณ์สัตว์ทั้งสี่และประติมากรรมอื่นรอบพระเจดีย์ วัดบวรนิเวศวิหารใหม่ตามวรรณกรรมไซอิ๋ว
|
วารสารดำรงวิชาการ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
|
|
ดวงพร พุทธวงค์ คฑาวุธ เจียมบัว
|
2566
|
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการส่งออกทุเรียน พรีเมียมไทยในตลาดจีน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
ดวงพร รื่นเรืองฤทธิ์, Huang Guomei
|
2561
|
ภาพสะท้อนชีวิตรักและการแต่งงานของชาวจีนผ่านคำสแลงในแต่ละยุค
|
วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 87-94
|
|
ดารณี อ่อนชมจันทร์
|
2547
|
ความร่วมมือ ด้านการแพทย์พื้นบ้านระหว่างกองการแพทย์พื้นบ้านกับสถาบันวิจัยการแพทย์แผนไต (Dai) เขตปกครองพิเศษไต สิบสองปันนา เมืองจิ่งหง มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 75 - 83
|
|
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์
|
2543
|
"ค้าหญิงจีนข้ามชาติในประวัติศาสตร์สังคมไทย" ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 หน้า 26-39
|
|
ดำรงพล อินทร์จันทร์
|
2558
|
"หนงจื้อเกา" : สำนึกทางประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์และเครื่องมือทางวัฒนธรรมของชาวนุงในจีน
|
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 หน้า 9-28
|
|
ดุษฎี วรธรรมดุษฎี
|
2562
|
บทวิจารณ์หนังสือ “China’s Asian Dream: Empire building along the silk road.”
|
วารสารพัฒนาสังคม JSD ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 235-242
|
|
เดชชาติ วงศ์โกมลเชษฐ์ (ผู้แปล)
|
2518
|
รัฐธรรมนูญสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารพัฒนาชุมชน ปีที่ 14 ฉบับที่ 7 หน้า 15-38
|
|
เดชา ชาติวรรณ
|
2566
|
จากอุดมการณ์ชาตินิยมสู่ “ภาพลักษณ์จีน” ในแบบเรียนภาษาจีนสําหรับชาวต่างชาติ From Nationalist Ideology to ""CHINESE IMAGE"" in the Chinese Textbook for Foreigners
|
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 326-336
|
|
เดชาวัต เนตยกุล, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การดัดแปลงตัวละครซูสีไทเฮากับมุมมองทางประวัติศาสตร์ : นวนิยายและละคร โทรทัศน์ “ชังฉยงจือเหม่า”
|
วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ คณะมุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
|
|
เดชาวุฒิ วานิชสรรพ์, สุวิมล ห้วงเกษม, นฤมล อรชร, พรฤดี สิทธิพงศ์, รุจิกา บุญเชิด
|
2562
|
สื่อการเรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์สําาหรับการเรียนภาษาจีนพื้นฐานแบบพินอิน
|
วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 22-31
|
|
ตรีศูล เกษร, ศุภกร ทาพิมพ์, อนงครัตน์ บังศรี
|
2562
|
การวิเคราะห์เปรียบเทียบวากยสัมพันธ์ประโยคเปรียบเทียบที่ใช้บุพบท “?” ในภาษาจีนและ “กว่า” ในภาษาไทย
|
วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 หน้า 91-102
|
|
ต้วนลีเซิง
|
2529
|
ความเป็นมาของคนไทยในสิบสองพันนา
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 หน้า 54-61
|
|
ต้วนลีเซิง
|
2526
|
"อ่าวจังหลินที่อำเภอเฉิงไห่ (เทงไฮ้) กับชาวจีนแต้จิ๋วที่อพยพมายังไทยในระยะแรก" ตรวจแก้โดย วิทิต วัณทาวิบูล แปลโดย วิภาดา จันทร์จารุสิริ
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 11 หน้า 36-41
|
|
ต้วนลีเซิง แปลโดย ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี
|
2528
|
สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีกับจักรพรรดิจีน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 114-123
|
|
ตะวัน กังวานสุรไกร, ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2567
|
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางความหมายของตัวบ่งชี้การณ์ลักษณะในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 198 - 212
|
|
ตู้อี้ถิง และเฉินหลี่ฝั้น แปลโดย ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี
|
2529
|
จักรพรรดิกุบไล่ข่านทรงพิชิตอาณาจักรตาลีทำให้ชนชาติไทยอพยพลงใต้อย่างขนานใหญ่จริงหรือ?
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 หน้า 104-116
|
|
ไตรทิพย์สุดา เสนาธรรม, ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2562
|
มโนอุปลักษณ์ (หน้า) ในสำนวนจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 47-69
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2556
|
สุภาษิตขงจู๊ บานแพนก และ นางเคงเกียงสอนบุตร เป็นบทที่หก ในโกบุญหวม
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 1-24
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2556
|
หลี่มี่ กวีร้อยแก้วยอดกตัญญู
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 88-96
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2554
|
ประวัติงิ้วในเมืองไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 1 ถึง 21
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2553
|
“ภาษาแต้จิ๋ว (4) ลักษณะภาษาแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 หน้า 158-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2553
|
“ภาษาแต้จิ๋ว (5) ลักษณะภาษาแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 หน้า 158-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“อัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว (2) : วัฒนธรรมสำแดงอัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 หน้า 162-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“อัตลักษณ์จืนแต้จิ๋ว (3): วัฒนธรรมสำแดงอัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 6 หน้า 139-143
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“ภาษาแต้จิ๋ว (1)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 12 หน้า 140-150
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“ไซอิ๋ว ยอดนิยายมหัศจรรย์ (2)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 11 หน้า 154-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“ภาษาแต้จิ๋ว (2) ความเป็นมาของภาษาแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 หน้า 158-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“อัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว (4)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 7 หน้า 156-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“อัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว (5)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 8 หน้า 152-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“อัตลักษณ์จีนแต้จิ๋ว (1)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 หน้า 158-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“จีนซัวบ้วย : สาขาหนึ่งของจีนแต้จิ๋ว” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 9 หน้า 159-168
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
“ไซอิ๋ว : ยอดนิยายมหัศจรรย์” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 10 หน้า 110-120
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2552
|
เผียนเหวิน: คำประพันธ์พิเศษของจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 134-140
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“วิวัฒนาการของรูปลักษณ์อักษรจีน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 12 หน้า 146-160
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“แต้จิ๋ว จีนกลุ่มน้อยที่ยิ่งใหญ่” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 หน้า 143-151
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“กากี่นั้ง” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 5 หน้า 124-131
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“ถิ่นแต้จิ๋ว (1) : แต้จิ๋วในอดีต” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 6 หน้า 127-131
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“ถิ่นแต้จิ๋ว (2): จากอดีตสู่ปัจจุบัน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 8 หน้า 144-149
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“ถิ่นแต้จิ๋ว : ภูมิศาสตร์แต้จิ๋ว (1)” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 29 ฉบับที่ 9 หน้า 158-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2551
|
“คนแต้จิ๋ว (1) คนแต้จิ๋วคือใคร” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 หน้า 142-151
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2550
|
“เป้าปุ้นจิ้นกับวัฒนธรรมชื่อของคนจีน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 28 ฉบับที่ 7 หน้า 161-16
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2550
|
“เช็งเม้ง : เทศกาลคารวะบุพการี” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 28 ฉบับที่ 6 หน้า 158-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2549
|
“ตงจื้อ : เทศกาลเจริญวัย” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 28 ฉบับที่ 2 หน้า 136-142
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2549
|
“เต้าอวิ้นโหลว : จุดบรรจบของจักรวาลวิทยากับสถาปัตยกรรมจีน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 27 ฉบับที่ 11 หน้า 156-169
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2549
|
“สารทจีน : เทศกาลสำคัญที่กำลังลบเลือน” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 27 ฉบับที่ 10 หน้า 87-101
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2549
|
สามก๊ก: จากวรรณคดีเอกของจีนมาเป็นวรรณคดีเอกของไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 117-135
|
|
ถาวร สิกขโกศล
|
2532
|
มองสามก๊กจากต้นฉบับภาษจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
ทรงวิทย์ ดลประสิทธิ์
|
2526
|
เมืองจีน และสิบสองปันนา
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 หน้า 61-66
|
|
ทรรศนีย์ โมรา, นิธิเมธ เมธาภิวัชร์, Xiao Lin Fang, Li Li Jia, ณัฐนันท์ เจียรประดิษฐ์
|
2562
|
หนังสือเเบบเรียน“BOYA CHINESE”ในมุมมองการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศและความพึงพอใจของผู้ใช้หนังสือแบบเรียนเล่มนี้
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 1248-1261
|
|
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ
|
2521
|
วิเคราะห์ปัญหาการเมืองจีนปัจจุบัน : ผู้นำ การรวมกลุ่มการต่อสู้ทางชนชั้น
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 93-138
|
|
ทักษ์ เฉลิมเตียรณ
|
2520
|
สาธารณรัฐประชาชนจีน : วิกฤตการณ์ทางสภาวะผู้นำและความขัดแย้งทางอุดมการ
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 เล่มที่ 3 หน้า 134-156
|
|
ทันดอน ทุ่งบัวสี
|
2516
|
แนะนำสาธารณรัฐประชาชนจีน : นักการทูตของจีน
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 10 หน้า 98-100
|
|
ทันดอน ทุ่งบัวสี
|
2516
|
แนะนำสาธารณรัฐประชาชนจีน : พลังนักศึกษาจีน
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 12 หน้า 103-106
|
|
ทัศน์ธนิต ทองแดง, อุมาพร เกียรติกิระขจร
|
2561
|
ละครสงครามนางใน บทสะท้อนสำนึกสตรีจีนต่ออำนาจชายเป็นใหญ่ในศตวรรษที่ 21
|
วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 หน้า 137-169
|
|
ทิพย์ภากรณ์ ใจวัน, สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ
|
2561
|
การพัฒนาระบบการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนการสอนภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา
|
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 167-176
|
|
ทิพย์สุดา ธีระเจตกูล, วริษา อัศวรัตน์
|
2566
|
แนวทางการแปลคำศัพท์ทางการแพทย์จากภาษาจีนเป็นภาษาไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ กองส่งเสริมแการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|
|
ธนกร สุวรรณอำภา
|
2565
|
การสร้างสรรค์ ละครพันทางหลังยุคจารีตนิยม เรื่อง เจ้าแม่สร้อยดอกหมาก
|
มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
|
|
ธนนันท์ บุ่นวรรณา
|
2560
|
“จีน”ในมุมมองของเวียดนามจากปี 1979 ถึงหลังทศวรรษ 1990 : ศึกษาจากหนังสือ S? th?t v? Vi?t Nam-Trung Qu?c trong 30 n?m qua และงานเขียนทางวิชาการหลัง สิ้นสุดสงครามเย็น
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 135-206
|
|
ธนพร ธัมโชตัง, ยลรดี วิวัฒนา, อรกัญญา โรจนวานิชกิจ
|
2566
|
การศึกษาเปรียบเทียบวัฒนธรรมการใช้สีของเครื่องแต่งกายในงานพิธีระหว่าง จีน-ไทยผ่านละครซีรีส์
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
ธนวัฒน์ วุฒิศิริศาสตร์
|
2566
|
การเล่นในคัมภีร์จวงจื่อ
|
วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
ธนัตเทพ เตระทวีดุลย์
|
2566
|
การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการฝังเข็ม-ลนยาตามศาสตร์แพทย์แผนจีน
|
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
|
|
ธนานันท์ ตรงดี วราลักษณ์ แซ่อึ๋ง อุไรวรรณ แซ่ว่อง จรรยา ดุลยะลา ย่าผิง ซู
|
2563
|
การขยายความหมายของคำว่า แม่ ในภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาจีน
|
วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
|
ธนานันท์ ตรงดี, วราลักษณ์ แซ่อึ๋ง, อุไรวรรณ แซ่ว่อง, จรรยา ดุลยะลา, ย่าผิง ซู
|
2563
|
การขยายความหมายของคำว่า แม่ ในภาษาไทย ภาษาลาว และภาษาจีน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 53-79
|
|
ธนานันท์ ตรดี, หวาง หยาง หมิง
|
2557
|
ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากัม-ไทกับภาษาเยว่ถิ่นชินเหลียน
|
วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 1 - 9
|
|
ธนารัตน อัครกุญ, ศศรักษ์ เพชรเชิดชู
|
2561
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำอุทานจีนในนวนิยายจีนเรื่อง เฉ้อเตียวอิงสฺยงจฺว้าน กับฉบับแปลไทยเรื่อง ก๊วยเจ๋งยอดวีรบุรุษ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 163 - 178
|
|
ธนียา หรยางกูร
|
2521
|
สนธิสัญญาสันติภาพระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีนและญี่ปุ่น
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 5 ฉบับที่ 1
|
|
ธเนศ วงศ์ยานนาวา
|
2567
|
การศึกษาเปรียบเทียบนโยบายความสัมพันธ์ช่องแคบไต้หวันของพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้า
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 45 ฉบับที่ 1 หน้าที่1-57
|
|
ธรรมเกียรติ กันอริ
|
2529
|
วรรณกรรมจีนในวรรณกรรมไทย
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 หน้า 18-22
|
|
ธรรมเกียรติ กันอริ
|
2527
|
นกคู่คติประเพณีและประติมา
|
อาวุโส ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 63-65
|
|
ธรีรัตน์ ประชุมแสน, พรภวิษย์ หล้าพีระกุล
|
2567
|
การตีความหลักการ “ประชาธิปไตยแบบจีน” ในยุคสีจิ้นผิงบนหลักการประชาธิปไตยเสรีนิยมใหม่ของโลกตะวันตก
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 110 - 140
|
|
ธวัชชัย ชัยชนะกิจพงษ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การเปรียบเทียบแนวคิดของลัทธินมัสการพระเจ้าของหงซิ่วเฉวียนกับหลักคำสอนคริสต์ศาสนา
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 หน้า 306-324
|
|
ธวัชชัย ชัยชนะกิจพงษ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การศึกษาพัฒนาการและบทบาทของคริสต์ศาสนาเนสโทเรียนในสมัยราชวงศ์ถัง ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 635 -845 A Study of the Development and Role of Nestorianism Christianity during the Tang Dynasty from A.D. 635-845
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 84-109
|
|
ธวัชไชย ปานดำรงค์
|
2553
|
การศึกษาลวดลายศิลปกรรมจีน
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 15 - 28
|
|
ธัชพงศ์ เภกะสุต
|
2560
|
ความสำคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อความมั่นคงด้านเส้นทางขนส่งพลังงานของจีน
|
วารสารการบริหารปกครอง ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 483-510
|
|
ธัญญารัตน์ มะลาศรี
|
2562
|
เปรียบเทียบทัศนคติที่เกี่ยวกับความรักและการแต่งงาน กรณีศึกษาสำนวนสุภาษิตไทย-จีน
|
วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับบัณฑิตศึกษา) ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 135-144
|
|
ธัญญารัตน์ มะลาศรี, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การวิเคราะห์โครงสร้างและความหมายชื่อร้านค้าภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีน บริเวณตลาดหัวรอ อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวินปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 131 - 152
|
|
ธัญสุดา เทพกุล
|
2561
|
การมุ่งสู่ตะวันออกของรัสเซียและความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับจีน หลังสงครามรัสเซีย-จอร์เจียในปี 2008
|
วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 112 - 139
|
|
ธันยมัย เจียรกุล
|
2562
|
มิติทางวัฒนธรรมของชาวจีนที่มีผลต่อความคาดหวังคุณภาพการบริการของธุรกิจร้านอาหารไทย
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 196-212
|
|
ธานี สุขเกษม
|
2524
|
นโยบายของไทยที่มีต่อสาธารณรัฐประชาชนจีน (พ.ศ. 2432-2515)
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 43-64
|
|
ธานี สุขเกษม
|
2521
|
ความคิดและบทบาทของ คัง อิ่ว หวุย (K' ang yü-wei) ศึกษาจากการปฏิรูปร้อยวันของจีน
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 38-73
|
|
ธิดา สาระยา
|
2517
|
โครงสร้างสังคมของจีนก่อนสมัยศตวรรษที่ 20
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 หน้า 72-82
|
|
ธีรโชติ เกิดแก้ว, อรรถสิทธิ์ สุนาโท
|
2566
|
หลักการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : การศึกษาษาเปรียบเทียบหลักการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื่อ
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
ธีรภาพ ปรีดีพจน์, กัลยา ขาวบ้านแพ้ว
|
2558
|
ความพึงพอใจของผู้เรียนภาษาจีนต่อผู้สอนภาษาจีนชาวไทยและชาวจีน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 153 - 180
|
|
ธีรวัฒน์ การโสภา
|
2566
|
การจำแนกประเภทของคำของคำว่า “用” (yòng) ตามแนวคิดทฤษฎีต้นแบบ Classification of“用”(yòng)According to Prototype Theory
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2563
|
การศึกษาวิเคราะห์คุณลักษณะของหน่วยสร้างกริยา-ผลเพื่อการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 1 หน้า 61-81
|
|
ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2557
|
การศึกษาการเลือกใช้คำภาษาไทยเพื่อเทียบเคียงความหมายกับส่วนเสริมกริยาบอกผลในภาษาจีนกลาง
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 8 หน้า 123 - 150
|
|
ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2555
|
การใช้ตัวแบบโครงสร้างมูลฐานของเหตุการณ์กับการสอนส่วนเสริมบอกผลในภาษาจีน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 6 หน้า 177-201
|
|
ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2555
|
การใช้ตัวแบบโครงสร้างมูลฐานของเหตุการณ์กับการสอนส่วนเสริมบอกผลในภาษาจีน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 6 หน้า 177 - 201
|
|
ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2551
|
การศึกษาและออกแบบการสอนสำนวนจีนที่ใช้โดยทั่วไปจากคลังข้อมูลภาษา กรณีศึกษาของนักศึกษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 82-116
|
|
ธีรวัตร วุฒิพัฒนานนท์, สมบัติ กุสุมาวลี
|
2561
|
การวิเคราะห์ภาวะผู้นำของผู้นำในวรรณกรรมสามก๊ก
|
วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 110-142
|
|
ธีระ คำลือชา
|
2522
|
มัณฑนะศิลปจีนส่งอิทธิพลแก่ศิลปไทย
|
เมืองโบราณ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 หน้า 13-22
|
|
ธีระ สินเดชารักษ์
|
2558
|
ผู้สูงอายุในสังคมจีน: การจัดสวัสดิการ ต้นแบบการดูแล และกิจกรรมทางสังคม
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 32
|
|
ธีระศักดิ์ กำบรรณารักษ์, ทิพย์สุดา เมธีพลกุล
|
2551
|
เชาวน์ในการแก้ปัญหา (AQ) เชาวน์อารมณ์ (EQ) และบุคลิกภาพของ นักธุรกิจเชื้อสายจีนในประเทศไทยกับนักธุรกิจเชื้อสายจีนในประเทศจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 1-17
|
|
น.ส.สุพิชดา ชำนาญกิจ, น.ส.วรรณกานต์ พันงา, ผศ.ดร. จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2565
|
ปริทัศน์หงจิ่งเทียนในฐานข้อมูลทางวิชาการ CNKI
|
วารสารเอเซียตะวันออกศึกษา (TjEAS ) สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ม.ธรรมศาสตร์
|
|
นงลักษณ์ ลิ้มศิริ
|
2561
|
เล่าเรื่องของชาติจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติจีน : "จีนโบราณ" ในจีนสมัยใหม่
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 หน้า 7 ถึง 22
|
|
นพเก้า สิรินธรานนท์
|
2556
|
การออกเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีนของผู้เรียนชาวไทย : กรณีศึกษา
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 147-162
|
|
นพพล จันทร์กระจ่างแจ้ง, ณัฐพงศ์ พืชภูมิ
|
2563
|
หลักคุณธรรมความกตัญญูของขงจื๊อที่สะท้อนผ่านความเชื่อและพิธีกรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน : กรณีศึกษาพื้นที่อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช
|
วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 73-88
|
|
นภ อึ๊งโพธิ์
|
2560
|
จอมยุทธหญิงเนี่ยอิ่นเหนียง: จากถังฉวนฉีสู่ภาพยนตร์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 56-82
|
|
นภ อึ๊งโพธิ์
|
2555
|
ท่องพิพิธภัณฑ์ในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 244-258
|
|
นภ อึ๊งโพธิ์
|
2549
|
วัฒนธรรมการบูชาโทเท็มของชนชาติกลุ่มน้อยในจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 155-183
|
|
นภัสกร อาจมุงคุณ, ภูฟ้า บุญศรีสมบัติ, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2567
|
ศิลปะการแสดงวัฒนธรรมจีน: การแสดงเชิดสิงโตแบบปีระกาย่านฝั่งธนบุรี
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวินปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 1 - 28
|
|
นมลรัตน์ แย้มวงศ์
|
2563
|
การวิเคราะห์เปรียบเทียบการเรียงลำดับคำของหน่วยขยาย ในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 113-156
|
|
นมลรัตน์ แย้มวงศ์
|
2562
|
การวิเคราะห์ความหมายของคำในภาษาจีนเพื่อการสอนนักศึกษาต่างชาติ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 76 - 98
|
|
นมลรัตน์ แย้มวงศ์
|
2560
|
ศึกษาความหมายและหลักการใช้คำลักษณนามในภาษาจีนกลางที่เป็นปัญหากับนักศึกษาไทย กรณีศึกษานักศึกษาวิชาเอกภาษาจีน ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยในจังหวัดเชียงใหม่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 127-168
|
|
นรชาติ วัง
|
2561
|
บทบาทรัฐบาลท้องถิ่นของสาธารณรัฐประชาชนจีนในยุคปัจจุบัน : กรณีศึกษามณฑลยูนนาน
|
วารสารการบริหารท้องถิ่น ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 หน้า 23-38
|
|
นรชาติ วัง, พรภวิษย์ หล้าพีระกุล
|
2567
|
การดำเนินนโยบายสาธารณะของรัฐบาลท้องถิ่นเขตปกครองตนเองซินเจียงอุยกูร์ประเทศจีนต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนในซินเจียง
|
วารสาร MFU Connexion มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 80 - 108
|
|
นรนิติ เศรษฐบุตร
|
2531
|
เอกสารประกอบการอภิปรายทางวิชาการ มองเมืองหลวงเก่าของจีน
|
โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
นรา พงษ์พานิช, กนกกาญจน์ เมืองแก้ว, จารึก อุปลา
|
2566
|
การบริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวจีนไหหลำ ณ บ้าน เกาะแรต อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี
|
วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
|
|
นริศ วศินานนท์
|
2559
|
การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 263-287
|
|
นริศ วศินานนท์, สุกัญญา วศินานนท์
|
2560
|
วิเคราะห์รูปแบบคำย่อจาก 4 พยางค์เป็น 2 พยางค์ในภาษาจีนปัจจุบัน
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 94-104
|
|
นริศรา แสงเทียน, เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2560
|
ภาพสะท้อนการสื่อสารของรัฐบาลเพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมความเอื้อเฟื้อในสังคมจีนปัจจุบัน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 185-220
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2551
|
"ผีเสื้อ" และ "เมฆหินน้ำไหล": นวนิยายฉายภาพเปรียบสังคมจีน "ยุคปฏิวัติวัฒนธรรม" กับ "ยุคสี่ทันสมัย"
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 115-134
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2527
|
จากภาพปีศาจ ผ่านยุคนักบุญ สู่ความเป็นมนุษย์ : ผลกระทบทางการเมืองต่อสถานภาพของจีนศึกษาในประเทศไทย
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 6-13
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2527
|
จีนศึกษากับผลกระทบทางการเมืองและการต่างประเทศของไทย
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 26-52
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2523
|
นโยบายต่างประเทศจีนยุคหลัง เหมา เจ๋อตุง
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 107-127
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2522
|
บทบาทของกลุ่มผลประโยชน์หรือกลุ่มอิทธิพล และพรรคการเมืองต่อการมีความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 59-83
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2521
|
บทบาทของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ ปราโมช มติมหาชนและสื่อมวลชนต่อการมีความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 หน้า 160-180
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2521
|
อิทธิพลของปัจจัยภายนอกต่อการมีความสัมพันธ์ทางทูตระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 เล่มที่ 2 หน้า 116-143
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2520
|
ลักษณะและแบบแผนของความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับจีน : ระบบการทูตบรรณาการ
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 20-31
|
|
นฤมิตร สอดศุข
|
2524
|
การต่อสู้สองแนวทางในสาธารณรัฐประชาชนจีนยุคสี่ทันสมัย : บททบทวน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง ปีที่ 1 เล่มที่ 5-6 หน้า 101-120
|
|
นลิน ลีลานิรมล
|
2554
|
การศึกษาปัญหาในการแปลวรรณกรรมแฟนตาซีจีนเป็นไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 84-111
|
|
นลินทิพย์ เขียวขำแสง
|
2559
|
ปริทัศน์คำเติมในภาษาจีนสมัยใหม่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 239-267
|
|
นลินทิพย์ วิภาวัฒนกุล
|
2562
|
การศึกษาวิธีการสื่อความหมายว่า “ทำให้” ในภาษาจีนและภาษาไทยผ่านมุมมอง งานแปลจีน-ไทย: กรณีศึกษางานแปลจากวารสารสถาบันขงจื่อ
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 หน้า 1164-1187
|
|
นลินทิพย์ วิภาวัฒนกุล
|
2560
|
ปริทัศน์การศึกษาโครงสร้าง “?……?” ในภาษาจีน
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 9 ฉบับพิเศษ หน้า 282-293
|
|
นวภู แซ่ตั้ง
|
2561
|
ว่าด้วยความรักเชิงกามารมณ์ (EROS) : มุมมองจากปรัชญาเต๋าและขงจื่อ
|
วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 505-519
|
|
นัฎฤดี ปั้นกิจวานิชเจริญ
|
2563
|
การพัฒนาชุดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง เรื่อง การแยกแยะอักษรจีนที่มีลักษณะคล้ายกันสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 137 - 163
|
|
นัทธนัย ประสานนาม
|
2555
|
วันนี้ท้องฟ้าแจ่มใส: ชิกลิทเชื้อสายตะวันออกของหลิวจงเวย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 186-198
|
|
นัทธนัย ประสานนาม
|
2554
|
เรื่องเล่า ครอบครัว และความทรงจำ : อัตลักษณ์และประวัติศาสตร์ของผู้หญิงไทยเชื้อสายกวางตุ้งในนวนิยายเรื่องรอยวสันต์ของ ยุวดี ต้นสกุลรุ่งเรือง
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ สัมมนาจีนศึกษา "พลวัฒแห่งภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม" หน้า 149-169
|
|
นัทธนัย ประสานนาม
|
2554
|
โรงรับจำนำหมายเลข 8: นวนิยายรักเหนือธรรมชาติของเซินเสว่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 177-185
|
|
นันท์นภัส จิวลวัฒน์, สุมิตร ดุรงค์พงษ์ธร
|
2562
|
กลไกการระงับความรู้สึกเจ็บปวดตามหลักวิทยาศาสตร์ของการฝังเข็ม
|
วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 17 ฉบับที่ 3 หน้า 527 - 541
|
|
นันท์ภัชอร ภูมิธรรมรัตน์
|
2561
|
การเมืองเรื่องเพศสถานะในนวนิยายโรมานซ์ข้ามเชื้อชาติไทย-จีน เรื่อง กนกลายโบตั๋น
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 249-282
|
|
นันทา โชติกะพุกกณะ (ผู้แปล)
|
2523
|
จีน ระยะก้าวกระโจนสู่โลกภายนอก (The Great Leap Outward)
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 49-73
|
|
นันทา โชติกะพุกกณะ
|
2522
|
พจนานุกรมประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ค.ศ. 1789-1973 ตอน จีน
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 หน้า 80-100
|
|
นันทิกานต์ เหมือนจันทร์, กนกพร นุ่มทอง
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบละครโทรทัศน์ "รักใสใสหัวใจสี่ดวง" เวอร์ชั่นไต้หวัน ค.ศ. 2001 เวอร์ชั่นจีนแผ่นดินใหญ่ ค.ศ. 2009 และ 2018
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 50-77
|
|
นันทิดา จงมีสุข
|
2555
|
วีรบุรุษ : ภาพแทนอุดมคติในนวนิยายกำลังภายใน เรื่องฤทธิ์มีดสั้น ของโก้วเล้ง
|
วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 23 หน้า 14-32
|
|
นัยน์พัศ อธิษฐ์พัส
|
2563
|
วิกฤตความเป็นชายในนวนิยายเรื่อง อกโตสะโพกใหญ่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 82-107
|
|
นัยน์พัศ อธิษฐ์พัส
|
2563
|
การศึกษาปัญหาเสรีภาพในช่วงการระบาดของโควิด-19 ใน ไดอารี่ล็อกดาวน์อู่ฮั่น
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 174-206
|
|
นัยน์พัศ อธิษฐ์พัส
|
2563
|
วิกฤตความเป็นชายในนวนิยายเรื่อง อกโตสะโพกใหญ่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
นัยน์พัศ อธิษฐ์พัส
|
2563
|
การศึกษาปัญหาเสรีภาพในช่วงการระบาดของโควิด-19 ใน ไดอารี่ล็อกดาวน์อู่ฮั่น
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
นัยน์พัศ อธิษฐ์พัส
|
2558
|
คุณค่าของสตรีในนวนิยายเรื่อง “ทัณฑ์ไม้จันทน์” ของมั่วเหยียน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ปีที่ 1 หน้า 171-195
|
|
นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพร, วิริยา สีบุญเรือง, อภิราดี จันทร์แสง , Scott Laird Rolston
|
2565
|
ชาตินิยมอินเดียกับความสัมพันธ์กับจีนในบริบทเส้นทางสายไหมใหม่
|
วารสารเอเซียปริทัศน์ สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นารีรัตน์ ปริสุทธิวุฒิพร, สมชัย ภัทรธนานันท์, ชยันต์ วรรธนะภูติ
|
2561
|
ผู้ค้าจีนกับการสร้างตลาดและวงจรทางการค้าในนครหลวงเวียงจัน
|
วารสารบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 138-152
|
|
นารีรัตน์ วัฒนเวฬุ
|
2561
|
การศึกษาข้อผิดพลาดการเขียนอักษรจีนของผู้เรียนชาวไทย: กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 283-314
|
|
นารีรัตน์ วัฒนเวฬุ
|
2561
|
วัฒนธรรมอาหารโต๊ะจีนในงานฉลองมงคลสมรสของ ชาวไทยเชื้อสายจีนในอําเภอเบตง จังหวัดยะลา
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 145 - 171
|
|
นารีรัตน์ วัฒนเวฬุ
|
2555
|
ชีวิตของนางกำนัลในราชสำนักจีน
|
วารสารรูสมิแล ปีที่ 33 ฉบับที่ 3 หน้า 91 - 95
|
|
นำโชค บุตรน้ำเพ็ชร
|
2562
|
การพัฒนาวิชาชีพครูสอนภาษาจีนในประเทศไทยตามกรอบมาตรฐานครูสอนภาษาจีนระดับสากลของฮั่นปั้น
|
วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 298-320
|
|
น้ำฝน จันทร์นวล
|
2556
|
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวจีน ที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย
|
วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 53-60
|
|
นิจพร จันทรดี, โสภี อุ่นทะยา, ธนานันท์ ตรงดี
|
2558
|
การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาจีน เพื่อความเข้าใจด้วยรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของฮันเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
|
วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 หน้า 133 - 143
|
|
นิธิ เอียวศรีวงศ์
|
2531
|
ชาวจีน ปัจจัยสำคัญของความเปลี่ยนแปลง
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 หน้า 36-48
|
|
นิพนธ์ ศศิภานุเดช
|
2565
|
ภาษาไทย ประพันธศิลป์แห่งมุมมองการเล่าใน มูลมัธยมกการิกา ฉบับแปลภาษาจีน
|
วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
นิพนธ์ ทรายเพชร
|
2557
|
จีนส่งอวกาศฉางเอ๋อลงดวงจันทร์
|
นิตยสาร สสวท. ปีที่ 42 ฉบับที่ 186 หน้า 53-55
|
|
นิพนธ์ เทพวัลย์
|
2524
|
นโยบายประชากรด้านการควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา ปีที่ 1 เล่มที่ 1 หน้า 113-124
|
|
นิพนธ์ เทพวัลย์
|
2514
|
นโยบายประชากรของจีนคอมมิวนิสต์
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 หน้า 36-45
|
|
นิพนธ์ ศศิภานุเดช
|
2561
|
ประวัติศาสตร์คริสตศาสนาในแดนมังกร : จากรัฐจารีตสู่รัฐสมัยใหม่
|
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 22-39
|
|
นิภาพร รัชตพัฒนากุล
|
2563
|
ชาวสยาม ทวายสวามิภักดิ์ และกวางตุ้งรีปับลิก: การเผชิญหน้าของราษฎรกับรัฐบาลเพื่อสิทธิที่ดินในเมืองกรุงเทพ
|
วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 34 - 64
|
|
นิยม ติวุตานนท์
|
2524
|
เรือนจำที่นครเซี่ยงไฮ้
|
วารสารราชทัณฑ์ ปีที่ 29 เล่มที่ 6 หน้า 19-22
|
|
นิยม รัฐอมฤต
|
2565
|
นวัตกรรมในระบบการเมืองจีน
|
วารสารสถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
|
|
นิยม รัฐอมฤต
|
2556
|
สำรวจปรัชญา การเมืองการปกครองจีน
|
วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 หน้า 33 - 51
|
|
นุกูล ธรรมจง
|
2559
|
บทบาทของศูนย์การเรียนรู้ดนตรีจีนและวัฒนธรรมจีนแต้จิ๋ว อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรีที่มีต่อการหลอมรวมความเป็นชาติพันธุ์จีน
|
วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ หน้า 18-24
|
|
นุจรีย์ สุทธิพันธ์
|
2560
|
นัยยะแห่ง “สีสัน” ในข้าวฟ่างสีเพลิง
|
สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 75-90
|
|
บรรจง ไชยลังกา
|
2559
|
ระเบียบโลกใหม่ของจีน : วิเคราะห์ตามทฤษฎีสัจนิยมใหม่
|
วารสารสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 19-29
|
|
บรรฑร อ่อนดำ
|
2517
|
ข้อคิดบางประการเกี่ยวกับชาวจีนในประเทศไทย
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 4 เล่มที่ 1 หน้า 87-105
|
|
บัณศิกาญจ ตั้งภากรณ์
|
2562
|
การสร้างสื่อภาพนูนอักษรจีนเพื่อเสริมจินตภาพในทักษะการสื่อสารภาษาจีนเบื้องต้น สำหรับนักเรียนผู้พิการทางสายตา
|
วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 47 ฉบับที่ 2 หน้า 137-154
|
|
บัณศิกาญจ ตั้งภากรณ์
|
2560
|
การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ระหว่างลักษณนาม จีน - ไทย “? [k?]” และ “เม็ด”
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 33
|
|
บัณศิกาญจ ตั้งภากรณ์
|
2557
|
การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการเรียนคำเสริม “?” ในภาษาจีนของนักเรียนไทย โดยการใช้ทฤษฎีจิตวิสัยทางภาษา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 151-186
|
|
บาหยัน อิ่มสำราญ
|
2559
|
มโนทัศน์เรื่อง “อำนาจ” ในวรรณกรรมพงศาวดารจีนเรื่อง “เลียดก๊ก”
|
วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 หน้า 26-33
|
|
บุญชู บุญลิขิตศิริ, จาง หมิง, เสกสรรค์ ตันยาภิรมย์
|
2567
|
การเปรียบเทียบเครื่องเคลือบจีน - ไทยในศตวรรษที่ 14: กรณีศึกษาการเปรียบเทียบลวดลายเครื่องเคลือบจิ่งเต๋อเจิ้นและสุโขทัย
|
วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 12-22
|
|
บุญธิญา รักสวน, พิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว, ณฐ บุญธนาธีรโชติ, LI HAOCHANG
|
2565
|
การศึกษาแบบเรียนภาษาจีนโบราณ : กรณีศึกษาสุภาษิต “นกปากซ่อมทะเลาะกับหอยกาบ”
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
บุญสิตา อารีย์พงษ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การวิเคราะห์จริยศาสตร์ที่มีอิทธิพลในอัตชีวประวัติไล่ตงจิ้น ลูกขอทานผู้ไม่ยอมแพ้ต่อชะตาชีวิต AN ANALYSIS OF ETHICS INFLUENCING AUTIBIOGRAPHY OF LAI DONG JIN, THE BEGGAR CHILD
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 หน้า 318-332
|
|
บุญสิตา อารีย์พงษ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การวิเคราะห์จริยศาสตร์ที่มีอิทธิพลในอัตชีวประวัติไล่ตงจิ้น ลูกขอทานผู้ไม่ยอมแพ้ต่อชะตาชีวิต An Analysis of Ethics Influencing Autobiography of Lai Dong Jin, The Beggar Child
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 หน้า 318-332
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2566
|
พินิจคำพิพากษาฉบับพากย์จีนสองสำนวน : การศึกษาเปรียบเทียบ
|
วารสารจีนศึึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้าที่1-92
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2563
|
การก้าว “ไม่” ข้ามความเป็นอื่นด้านภาษาใน คำบรรยายใต้ภาพภาษาจีนซีรีส์เรื่อง “เกียร์สีขาวกับกาวน์สีฝุ่น”
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 509-547
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2562
|
การก้าว "ไม่" ข้ามความเป็นอื่นด้านภาษาในพระราชนิพนธ์เรื่อง "แก้วจอมซน" ฉบับพากย์จีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 259-315
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2559
|
พินิจคำพิพากษาฉบับพากย์จีนสองสำนวน : การศึกษาเปรียบเทียบ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 91-183
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2556
|
การศึกษาเปรียบเทียบการแปลสำนวนในเฟิงเสินเหยี่ยนอี้กับ ห้องสินฉบับพากย์ไทยสมัยรัชกาลที่สองและสำนวนแปลของ วิวัฒน์ ประชาเรืองวิทย์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 182-216
|
|
บุรินทร์ ศรีสมถวิล , หลูตาน
|
2566
|
เสน่ห์ของคำซ้อนสี่คำในวรรณกรรมเยาวชนบทพระราชนิพนธ์ ชุด “แว่นแก้ว” ที่หายไปในฉบับพากย์จีน The shortcomings on rhetorical beauty of the four-syllable compound words’ mistranslations in the children’s fiction WaenKaew series’ Chinese version.
|
"วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์"ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 20-45"
|
|
เบญจอาภา พิเศษสกุลวงศ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การศึกษาความเชื่อที่สะท้อนจากสิ่งของตกทอดที่มีคุณค่า ในครอบครัวชาวไทยเชื้อสายจีน ในจังหวัดกาญจนบุรี
|
มนุษยศาสตร์สาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
เบญญาทิพย์ ศุภะกะลิน
|
2563
|
การวิเคราะห์องค์ประกอบทางความหมายของคำกริยาที่ใช้มือกระทำในภาษาจีน
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 26-52
|
|
เบญญาทิพย์ ศุภะกะลิน
|
2561
|
อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์คำเกี่ยวกับอวัยวะในภาษาจีนกับภาษาไทย
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 184-211
|
|
เบญญาทิพย์ ศุภะกะลิน
|
2561
|
ข้อผิดพลาดการใช้คำกริยาวิเศษณ์พ้องความหมายในภาษาจีนของผู้เรียนชาวไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 หน้า 92-116
|
|
ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์
|
2556
|
แนวทางแห่งสันติวิธีในปรัชญามั่วจื่อ: ความรัก ความเท่าเทียม ผลประโยชน์ และครรลองธรรม
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 25-52
|
|
ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ และ ศิริวรรณ วรชัยยุทธ
|
2560
|
การประชุมวิชาการระดับชาติจีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 3
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 89 หน้า
|
|
ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์ และ ศิริวรรณ วรชัยยุทธ
|
2559
|
การประชุมวิชาการระดับชาติจีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 2
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 143 หน้า
|
|
ปฐมพร ฉิมพาลี, อุทิศ บำรุงชีพ, วิมลรัตน์ จตุรานนท์
|
2562
|
การพัฒนาชุดการสอนภาษาจีนระดับพื้นฐานโดยประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนแบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
|
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 หน้า 127 - 138
|
|
ปณต แสงเทียน
|
2558
|
ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมทางทะเลของจีน : ความเกี่ยวข้องต่ออาเซียนและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
วารสารรัฏฐาภิรักษ์ ปีที่ 57 ฉบับที่ 3 หน้า 49-61
|
|
ประจักษ์ ประภาพิทยากร
|
2513
|
วรรณกรรมจีนในภาษาไทย
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 97 หน้า 42-59
|
|
ประจิตร ป้อมอรินทร์
|
2563
|
ความสัมพันธ์ไทย - จีนสมัยโบราณ และการท่องเที่ยวไทยของนักท่องเที่ยวชาวจีน
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 169 - 180
|
|
ประทีป ฉายลี
|
2556
|
บทบาทชาติพันธุ์ไท (ไต) และสถานะของไทศึกษากับการสร้างความสัมพันธ์จีน-ไทยให้ยั่งยืน
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 165-182
|
|
ประเทืองพร วิรัชโภคี
|
2565
|
กลวิธีการแปลวรรณคดีจีนอีโรติกเรื่อง จินผิงเหมย์ เป็นภาษาไทย โดยเนียนและสด กูรมะโรหิต
|
มนุษยศาสตร์สาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
ประเทืองพร วิรัชโภคี
|
2565
|
กลวิธีการแปลวรรณคดีจีนอีโรติกเรื่อง จินผิงเหมย์ เป็นภาษาไทย โดยเนียนและสด กูรมะโรหิต
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี และต้วนลี่เซิง
|
2530
|
ความสัมพันธ์ระหว่างจีน-ไทยในสมัยกรุงธนบุรี
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 64-81
|
|
ประพฤทธิ์ ศุกลรัตนเมธี
|
2518
|
ฐานะทางกฎหมายของชาวจีนโพ้นทะเลในไทย
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 30-46
|
|
ประพัฒน์พงษ์ วัชระโสภา, บุญร่วม คำเมืองแสน
|
2561
|
ความเชื่อศาสตร์แห่งฮวงจุ้ยที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 21 หน้า 334-344
|
|
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
|
2551
|
"น้ำ" ในสำนวนจีน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 61-81
|
|
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
|
2527/2528
|
คำลักษณนามในภาษาจีน
|
ภาษาและหนังสือ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้า 18-27 ถึง ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 73-79
|
|
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
|
2527
|
คำไทย-คำเทศ : คำไทย-คำจีน
|
วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 90-95
|
|
ประพิณ มโนมัยวิบูลย์
|
2517
|
ประเภทตัวอักษรจีน
|
อักษรศาสตร์พิจารณ์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 9 หน้า 7-14
|
|
ประภัศรา แพทย์ดี
|
ไม่ปรากฏ
|
ความขัดแย้งระหว่างจีนกับเวียดนาม..สาเหตุและแนวโน้ม
|
วารสารคณะสังคมศาสตร์ (มศว. บางแสน) ฉบับที่ 9 (24) หน้า 55-70
|
|
ประภัสสร์ เทพชาตรี
|
2562
|
ยุทธศาสตร์สหรัฐต่อจีนในศตวรรษที่ 21
|
วารสารสังคมวิจัยและพัฒนา ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 หน้า 1-27
|
|
ประภัสสร นิกรสวัสดิ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
การศึกษากลวิธีการแปลชื่อสถานีรถไฟฟ้าเฉพาะระบบขนส่งทางรางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลเป็นภาษาจีนในแอปพลิเคชัน “รถไฟฟ้ากรุงเทพมหานคร”
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 451-464
|
|
ประภากร พนัสดิษฐ์, วิไลพร สุจริตธรรมกุล, เมธีพิทักษ์ธีระธรรม
|
2566
|
ชีวประวัติพระโลกเกษมในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนแปล:ผู้แปลคัมภีร์มหายานพากย์จีนชุดแรก The Biography of Lokakṣema in the Gaoseng zhuan: the first translation of Chinese Mahāyāna Sūtras
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 100-123
|
|
ประยูร อุลุชาฎะ
|
2522
|
"ศิลปจีนที่เข้ามาสัมพันธ์กับศิลปไทย" โดย น.ณ. ปากน้ำ, นามแฝง
|
เมืองโบราณ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 หน้า 23-28
|
|
ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์
|
2533
|
สัมพันธไมตรีไทย-จีนก่อน ค.ศ. 2518
|
ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 กรกฎาคม หน้า 13-22
|
|
ประสิทธิ์ เงินชัย
|
2558
|
ประเพณีจีนในภาคตะวันออก
|
วารสารการเมือง การบริหาร และกฏหมาย ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 101-114
|
|
ปรัชญา ดิลกศรี
|
2563
|
การวิเคราะห์อุตสาหกรรมเครื่องสำอางไทยและแนวโน้มของผู้บริโภคชาวจีน
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 159 - 168
|
|
ปราชญ์ บุญยวงศ์วิโรจน์
|
2546
|
สุขภาพจิตและจิตเวชประเทศจีน
|
วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 55-57
|
|
ปราณชนก ตรีรัตนวารีสิน
|
2560
|
อนุภาคการให้รางวัลและการลงโทษในนิยายแฟนตาซีจีนชุดเหลียวไจจื้ออี้
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 130 - 148
|
|
ปรานี วงษ์เทศ
|
2549
|
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจ้วงกับไทยในมิติทางประเพณีวัฒนธรรมและความเชื่อ
|
ดำรงวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 14 - 30
|
|
ปริยา ชื่นชูเวส
|
2551
|
ปัญหาและแนวทางแก้ไขการแปลกรณีศึกษาด้านการทูตเรื่อง "นายกรัฐมนตรีโจวอินไหลเข้าร่วมประชุมบันดุงปี 1955"
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 130-154
|
|
ปรีดา อัครจันทโชติ
|
2561
|
ความเป็นจีนในละครโทรทัศน์ไทย
|
วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 20
|
|
ปรีดา อัครจันทโชติ, ถิรนันท์ อนวัชศิริวงศ์
|
2558
|
การข้ามพ้นวัฒนธรรมกับการเปลี่ยนแปลงความหมายของงิ้วในประเทศไทย
|
วารสารนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 หน้า 38 - 60
|
|
ปรียานุช ตุนา, อัจฉรา แสงสี, สราวุฒิ เขียวพฤกษ์, ชลธี เสมอเชื้อ, อัจจิมา แซ่เฮ่ง
|
2566
|
การศึกษากลวิธีการแปลภาษาภาพพจน์ในเนื้อร้องของบทเพลงภาษาจีน ที่ปรากฏจากซีรีส์เรื่อง ปรมาจารย์ลัทธิมาร The Study Of Translation Techniques Of Imagery In The Lyrics Of Chinese In Chinese Series “The Untamed”
|
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 1-13
|
|
ปรียารัตน์ โล่ห์วิสุทธิ์
|
2524
|
จีนกับขบวนการคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย หลังจากสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตใน พ.ศ. 2518
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 หน้า 43-71
|
|
ปฤณา มโนมัยวิบูลย์
|
2553
|
ปัญหาของผู้เรียนจีนกับคำบอกบุรุษ : ใครเป็นใครในภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 4 หน้า 124-136
|
|
ปัทมา จุฑาธิปไตย, ชัญญพร จาวะลา
|
2563
|
สำนวนที่เกี่ยวกับธาตุทั้ง 4 ในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 37-64
|
|
ปัทมา ดีลิ่น, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์
|
2560
|
เทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหาการเรียนการสอน วิชาวัฒนธรรมจีน ในระดับอุดมศึกษา
|
อินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 (ฉบับพิเศษ) หน้า 101-125
|
|
ปัทมาสน์ พิณนุกูล, ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์, เมตตา ศิริสุข
|
2563
|
“ม้าทรง”ความเป็นเทพกับความเป็นมนุษย์ ปฏิบัติการในพื้นที่พิธีกรรมงานประเพณีถือศีลกินผักของจังหวัดภูเก็ต
|
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 183 - 208
|
|
ปานชีวา บุตราช
|
2565
|
กฎหมายกตัญญูและการวิพากษ์แนวคิดขงจื่อ ในวรรณกรรมอิน- เทอร์เน็ตจีน
|
มนุษยศาสตร์สาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
ปานชีวา บุตราช
|
2565
|
กฎหมายกตัญญูและการวิพากษ์แนวคิดขงจื่อในวรรณกรรมอินเทอร์เน็ตจีน
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
ปานชีวา บุตราช
|
2562
|
ศิลปะการนำเสนอด้วยภาพในการดัดแปลงข้ามสื่อ : จากวรรณกรรมสู่ละครชุด สิงหมิงซือเหยีย
|
วารสารศิลป์ พีระศรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 45-64
|
|
ปานชีวา ภู่ขวัญพงษ์
|
2558
|
การเปรียบเทียบตัวละครหลักและความเชื่อที่สะท้อนผ่านตำนานเรื่อง "แม่นากพระโขนง" และ "นางพญางูขาว" (???)
|
วารสารกระแสวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 16 ฉบับที่ 30 หน้า 55-67
|
|
ปาริฉัตร พิมล
|
2562
|
การเลือกสรรและการดัดแปลงพงศาวดารจีนฉบับแปลไทยเป็นบทละครรำของหลวงพัฒนพงศ์ภักดี
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 หน้า 113-152
|
|
ปิยชาติ สึงตี, สิรีธร ถาวรวงศา
|
2561
|
“ฮกจิวนาบอน” : ประวัติศาสตร์ชุมชนชาวจีนฮกจิวอำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช
|
สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 หน้า 101 - 136
|
|
ปิยวัช วสุสิริกุล, Rainer Hans Stasiewski
|
2559
|
การเติบโตของตลาดออนไลน์จีน
|
วารสารวิจัย มทร.กรุงเทพ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 9-20
|
|
ปิยะฉัตร จิรฉวีวรรณ, ศุภกาญจน์ พงศ์ยี่หล้า
|
2566
|
อัตลักษณ์ของไต้หวันกับความสัมพันธ์ข้ามช่องแคบ
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 49 ฉบับที่ 2 หน้า 149-162
|
|
ปิยะภพ มะหะมัด
|
2559
|
คุณูปการของเติ้ง เสี่ยวผิง ที่มีต่อการสร้างสรรค์จีนให้ทันสมัย
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 113-129
|
|
ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล
|
2556
|
ศิลปินหญิงกับศิลปะจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย
|
วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 203-242
|
|
ปิยะแสง จันทรวงศ์ไพศาล
|
2555
|
ศิลปะจีนร่วมสมัยหนึ่งศตวรรษจากอดีตสู่ปัจจุบัน
|
วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 121-153
|
|
ปุนญิศา คงทน
|
2561
|
สภาพและปัจจัยที่ทำให้เกิดผลกระทบต่อแรงจูงใจในการเรียนภาษาจีนของนักเรียนไทยที่ประเทศจีน
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 23-29
|
|
ผานิตดา ไสยรส
|
2561
|
กระเป๋าเงินดิจิทัลอาลีเพย์: พัฒนาการของเทคโนโลยีการเงินออนไลน์และการเปลี่ยนผ่านสู่สังคมไร้เงินสดในประเทศจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 30 ฉบับที่ 1 หน้า 103-135
|
|
ผุสสดี สัตยมานะ
|
2522
|
เหตุเกิดที่เทียนอันเหมิน
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 หน้า 66-79
|
|
เผ่าทอง ทองเจือ
|
2530
|
การค้าระหว่างอยุธยากับจีน : ศึกษาจากเครื่องถ้วยจีนที่งมได้รอบเกาะอยุธยา
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 หน้า 62-74
|
|
เผ่าทอง ทองเจือ
|
2530
|
การค้าระหว่างอยุธยากับจีน : ศึกษาจากเครื่องถ้วยจีนที่งมได้รอบเกาะอยุธยา ความหมายของลวดลายที่ประดับบนเครื่องถ้วยจีน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 7 หน้า 88-99
|
|
เผ่าทอง ทองเจือ
|
2530
|
การค้าระหว่างอยุธยากับจีน : ศึกษาจากเครื่องถ้วยจีนที่งมได้รอบเกาะอยุธยา : สมัยราชวงศ์หมิงตอนกลางถึงตอนปลาย
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 หน้า 70-80
|
|
เผ่าทอง ทองเจือ
|
2530
|
การค้าระหว่างอยุธยากับจีน : ศึกษาจากเครื่องถ้วยจีนที่งมได้รอบเกาะอยุธยา สมัยราชวงศ์หมิงตอนปลายราชวงศ์ชิง ถึงยุคสาธารณรัฐ
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 6 หน้า 114-124
|
|
พงศธร คำน้อย
|
2563
|
การพัฒนาเว็บไซต์คอมพิวเตอร์สำหรับเพิ่มพูนทักษะการฟัง การอ่าน และ ไวยากรณ์ภาษาจีน ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 กรณีศึกษาสำนักวิชาจีนวิทยา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 290-312
|
|
พงษ์ทัช จิตวิบูลย์, ปัญญา เทพสิงห์
|
2566
|
การปรับตัวด้านศิลปวัฒนธรรมของคนไทยเชื้อสายจีน ตามสภาพบริบทการเปลี่ยน แปลงสังคมเมืองสุไหงโกลก
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
พงษ์ทัช จิตวิบูลย์, ปัญญา เทพสิงห์
|
2566
|
เงื่อนไขที่เสริมสร้างอัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมของชาวไทยเชื้อสายจีน เมืองสุไหงโกลก Conditions Strengthened Art and Cultural Identity of Chinese Thai, Su-ngai Kolok
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 57-78
|
|
พงษ์ทัช จิตวิบูลย์, ปัญญา เทพสิงห์
|
2560
|
ประเพณีเช็งเม้ง : คุณค่าที่มีต่อสังคมในเมืองหาดใหญ่
|
วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 72-80
|
|
พงษ์ศักดิ์ อันประเสริฐ, กนกพร นุ่มทอง
|
2559
|
การประยุกต์ใช้หลักการแปลกับการแปลงานวิศวกรรมเรือจากภาษาจีนเป็นภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 108-142
|
|
พชรมน ซื่อสัจลือสกุล, วรยศ ชื่นสบาย, วิชมัย อิ่มวิเศษ, แก้งตา ลีลาตระการกุล, อรุณรัตน์ ศรีสุราช
|
2565
|
ภาพสะท้อนทางวัฒนธรรมจากคำเรียกขานภาษาจีน
|
มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
|
|
พนิดา เชาว์พาณิชย์เจริญ นุชชฎา ฉัตรประเสริฐ
|
2566
|
โครงสร้างและกลวิธีการใช้คำรื่นหูที่สื่อความหมายว่า "ตาย" ในภาษาไทยและ ภาษาจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
พรชัย ตระกูลวรานนท์
|
2531
|
แนวการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์จีนในสังคมไทย
|
จุลสารไทยคดีศึกษา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 49-67
|
|
พรเทพ เจิมขุนทด, วิภาวดี ทวี
|
2564
|
ประสิทธิผลการจัดโครงการพัฒนาทักษะยุวมัคคุเทศก์ภาษาจีนเพื่อการท่องเที่ยวจังหวัดศรีสะเกษ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 43 - 65
|
|
พรพรรณ จันทโรนานนท์
|
2556
|
โพธาราม: ประเพณีจีนที่อาจเลือนหายไปตามกาลเวลา
|
วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 32 ฉบับที่ 1 หน้า 57 - 68
|
|
พรพรรณ จันทโรนานนท์
|
2553
|
พระจี้กง: พระอรหันต์หรือพระสติเฟื่อง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 171-191
|
|
พรพรรณ ล.จันทโรนานนท์
|
2528
|
เรื่องราวของชาวอาหรับมุสลิมในสมัยราชวงศ์ถัง-ความคิดเห็นบางประการเกี่ยวกับ 'ภาพรูปบุคคลบนแผ่นอิฐแบบทวารวดีฯ'
|
ศิลปากร ปีที่ 29 เล่ม 2 หน้า 42-49
|
|
พรพรรณ ล.จันทโรนานนท์
|
2527
|
ปู้ไต้ซี่ งิ้วหุ่นกระบอกของชาวจีนฮกเกี้ยนที่สิงคโปร์
|
ศิลปากร ปีที่ 28 เล่ม 3 หน้า 26-46
|
|
พรพรรณ เลาหศิรินาถ (ผู้แปลและเรียบเรียง)
|
2524
|
"กลองมโหระทึกในประเทศจีนภาคใต้" แปลและเรียบเรียงจาก A study of Bronze Drums in South China
|
ศิลปากร ปีที่ 25 เล่ม 5 หน้า 75-123
|
|
พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, หลี่ เส้าฮุย
|
2562
|
การสังเคราะห์องค์ความรู้อัตลักษณ์จีนในประเทศไทยในรอบ 22 ปี (พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2560)
|
อินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 85-102
|
|
พรภวิษย์ หล้าพีระกุล
|
2562
|
เครือข่ายวัฒนธรรมหวู่หยวนแบบจีนกับการสร้างชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลในประเทศไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 99 - 123
|
|
พรรณทิพา อัศวเทพอุทัย
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบการแปลวรรณกรรมเรื่อง “เดือนเสื้ยว” ?????สองสำนวน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 135-153
|
|
พรรณทิพา อัศวเทพอุทัย
|
2551
|
การวิจารณ์เปรียบเทียบวรรณกรรมเรื่อง ??????ฉบับภาษาไทยสองฉบับ
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 155-172
|
|
พรสมสรวง สัจจาอัครมนตรี
|
2560
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำลักษณนามรวมหมู่ในภาษาจีนกลางกับคำลักษณะเดียวกันในภาษาไทย: กรณีศึกษาคำลักษณนามรวมหมู่ ฯ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 188 - 217
|
|
พรสวรรค์ เฉลิมยานนท์, จอมขวัญ สุทธินนท์
|
2561
|
ความเป็นหญิงในนวนิยายเรื่องนารีนครา
|
วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร ปีที่ 1 ฉบับที่ 2-3 หน้า 203-216
|
|
พระครูโฆสิต วัฒนานุกูล
|
2560
|
เปรียบเทียบทรรศนะการปกครองในคัมภีร์เต๋า เต๋อ จิง กับคัมภีร์พระไตรปิฎก
|
วารสารสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 39 - 46
|
|
พระธีรพล บัวทอง, พระครูศรีปัญญาวิกรม, พระมหาพจน์ สุวโจ
|
2566
|
การศึกษาเปรียบเทียบบัณฑิตในพุทธปรัชญาเถรวาทกับปรัชญาขงจื๊อ
|
วารสารวิชาการ มจร.บุรีรัมย์ วิทยาลัยสงฆ์บุรีรัมย์ มหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย
|
|
พระวีระพงษ์ ปาสานนท์, รศ.ดร.มัทนา วังถนอมศักดิ์
|
2566
|
อนาคตภาพการจัดอุดมศึกษาของคณะสงฆ์จีนนิกาย
|
วารสารวิชาการ วิทยาลัยแสงธรรม ศูนย์วิจัยค้นคว้าศาสนาและวัฒนธรรม
|
|
พลกูล อังกินันทน์
|
2514
|
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลจีนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 1 เล่มที่ 2 หน้า 129-136
|
|
พลเอกหญิง ศาสตราจารย์ ดร. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
|
2560
|
อดีตและอนาคตภายใต้การนำของจีน
|
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 11-36
|
|
พอล อาร์ โกลดิน (เขียน), ภัททิรา ไทยทอแสง (แปล)
|
2565
|
ปัญหาเชิงปรัชญาเกี่ยวกับสำนึกหลังความตายในความเชื่อจีนโบราณ
|
วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
พัชนี ตั้งยืนยง
|
2553
|
มรรคาแห่งปัญญา: สตรีจีนกับการเข้าสู่การศึกษาสมัยใหม่
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 หน้า 341-342
|
|
พัชรณัฐ ดาวดึงษ์, วัชรี เลขะวิพัฒน์, ชวลิต จันสะ
|
2561
|
การพัฒนาเว็บมัลติมีเดียสำหรับการฝึกสนทนาภาษาจีนระดับเบื้องต้น
|
วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 28-41
|
|
พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์
|
2563
|
ฉู่เฉียว : บทบาทความเป็นผู้นำของตัวละครเอกหญิงในวรรณกรรมแปลจีน เรื่องจอมนางจารชนหน่วย 11
|
วารสารมังรายสาร สถาบันภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 41-60
|
|
พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์
|
2562
|
เม่งเล่กุน : วิเคราะห์บทบาทผู้หญิงที่ปรากฏในวรรณกรรมแปลพงศาวดารจีนเรื่อง ง่วนเฉียว
|
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 14
|
|
พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์
|
2561
|
ลักษณะร่วมของเหตุการณ์ในเรื่องแก้วหน้าม้ากับเจ็งฮองเฮา
|
วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 19-32
|
|
พัชรินทร์ อนันต์ศิริวัฒน์
|
2558
|
ซีโหยวจี้ – ไซอิ๋ว : วิเคราะห์กลวิธีการแปลคำศัพท์ทางวัฒนธรรม
|
วารสารสักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 199-206
|
|
พัชรี ดินฟ้า
|
2557
|
ประเพณีความเชื่อการแห่เจ้าพ่อ-เจ้าแม่ปากนํ้าโพในปัจจุบัน ที่มีผลต่อการดำรงชีวิต ของชาวไทยเชื้อสายจีน ตำบลปากนํ้าโพ อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์
|
วารสารการบริการและการท่องเที่ยว ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 45 - 59
|
|
พัทธนันท์ เลิศคุณอธินนท์
|
2565
|
ไท้เก๊ก: ศาสตร์แห่งการสร้างความสมดุลของชีวิต
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
พาณุวัชร ชนะสกุล
|
2560
|
การแสดงออกเชิงทวิลักษณ์ผ่านศาลเจ้าจีน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 179-196
|
|
พาน เหล่ย, กนกพร นุ่มทอง
|
2564
|
การศึกษาตำนานการสร้างโลกของชนชาติอี๋
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 50 ฉบับที่ 1 หน้า 66 - 82
|
|
พิชชา รุ่งโรจน์อารี, วิเชียร ธำรงโสตถิสกุล
|
2561
|
การพัฒนากิจกรรมฝึกออกเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีน ตามแนวคิดพหุสัมผัส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
|
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 153-161
|
|
พิชณี สวัสดิ์ตยวงศ์
|
2547
|
ป้ายมงคลจีน: เถียวฟู่ และตุ้ยเหลียน
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 หน้า 46-59
|
|
พิชณี โสตถิโยธิน
|
2555
|
คำยืมภาษาจีนแต้จิ๋วในภาษาไทย: ปรากฏการณ์ที่วงศัพท์อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงความหมาย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 129-162
|
|
พิชัย แก้วบุตร
|
2562
|
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสริม (Augmented Reality : AR) กับการเรียนภาษาจีน: กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่3 สาขาภาษาต่างประเทศมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตสุราษฎร์ธานี
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 113-139
|
|
พิชัย แก้วบุตร
|
2562
|
การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะภาษาจีน: กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 46-64
|
|
พิชัย แก้วบุตร
|
2562
|
นโยบายทางภาษาในการเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมจีน ผ่านการทดสอบวัดระดับภาษาจีน HSK
|
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 307-325
|
|
พิทยา สุวคันธ์
|
2560
|
จีนกับการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 26
|
|
พิบุณย์ ลิ้มอารีย์สุข
|
2558
|
การศึกษาโครงสร้างส่วนเสริมกริยาบอกความเป็นไปได้ในนวนิยายจีนจินผิงเหมย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 231 - 259
|
|
พิภู บุษบก
|
2560
|
แนะนำหนังสือเรื่อง หมิงสือลู่-ชิงสือลู่ บันทึกเรื่องจริงแห่งราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิง ตอนว่าด้วยสยามและหนังสือระยะทางทูตไทยไปปักกิ่ง ประเทศจีน ของพระอินทรมนตรีแย้ม
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 หน้า 288-294
|
|
พิภู บุษบก
|
2557
|
ปัญหา "จีนในร่มธง" และแนวคิดการจัดตั้งกงสุลจีนประจำสยามสมัยรัชกาลที่ 5
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 หน้า 107-133
|
|
พิภู บุษบก
|
2556
|
พระนางซูสีไทเฮากับประเด็นข้อโต้แย้งทางประวัติศาสตร์
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 หน้า108-141
|
|
พิภู บุษบก, ศุภการ สิริไพศาล
|
2563
|
ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยราชวงศ์ฉินถึงราชวงศ์หยวน (221 ปีก่อน ค.ศ. - ค.ศ.1368)
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 หน้า 62 - 74
|
|
พิรัชพร อึ้งอรุณ, เมธาวี ยุทธพงษ์ธาดา, โกวิทย์ พิมพวง
|
2562
|
"เซ็ง" จากอาหารสู่อารมณ์
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 หน้า 1-20
|
|
พิราศิณี กองเงิน
|
2550
|
แนวทางการแปลนวนิยายสะท้อนสังคมจีนเรื่อง The Three Daughters of Madame Liang
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 1 หน้า 19-38
|
|
พิริยา สุรขจร
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ทางคติชนของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 260 - 286
|
|
พิริยา สุรขจร
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบกลวิธีทางวาทศาสตร์เชิงอุปมาของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 36-73
|
|
พิสิษฐพัฒน์ ปัญญาเร็ว ทองเปลว, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การศึกษาการแปลคำด่าของกะเทยจากภาษาไทยเป็นภาษาจีน กรณีศึกษาบทบรรยายใต้ภาพของภาพยนตร์เรื่อง “หอแต๋วแตก”
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
|
|
พุทธพล มงคลวรวรรณ
|
2557
|
โต๊ะโมะ: เหมืองทอง หัวเมืองอิสระ ของชาวจีนและสัมปทานของบริษัทฝรั่ง ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19
|
วารสารรูสมิแล ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 หน้า 45 - 58
|
|
เพ็ญพรรษา ชัยธีระสุเวท, มณันญา ศรีหิรัญ
|
2562
|
ชื่อสถานที่ท่องเที่ยวลำปาง : กลวิธีและข้อผิดพลาดที่พบในการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีน
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 5 หน้า 22-41
|
|
เพ็ญศรี กาญจโนมัย
|
2523
|
กบฏไถ้ผิง : ต้นตระกูลของการปฏิวัติมวลชนโดยพลังชาวนาจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์และมนุษศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 6 หน้า 30-42
|
|
ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร
|
2556
|
แอนิเมชั่นจีน..เมื่อแมวหลากสีจับมือกับพันธมิตรหนู
|
วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 1-13
|
|
ไพจิตร วิบูลย์ธนสาร
|
2554
|
เรียนรู้ตลาดจีนจากความสำเร็จของ เมอร์ซิเดส-เบนซ์
|
วารสารวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 1-8
|
|
ไพฑรา เชาว์ฉลาด
|
2559
|
การแลกเปลี่ยนเชิงวัฒนธรรมและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผ่านการท่องเที่ยวและดนตรีจีน (กู่เจิง)
|
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 21 - 32
|
|
ไพรินทร์ ศรีสินทร
|
2563
|
จิตสำนึกเชิงนิเวศใน “คัมภีร์ขุนเขาและทะเล”
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขรานครินทร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 89 - 112
|
|
ไพรินทร์ ศรีสินทร
|
2561
|
ผลของการประยุกต์ใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือในการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ: กรณีศึกษาวิชาไวยากรณ์ภาษาจีน
|
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 41 ฉบับที่ 4 หน้า 54-69
|
|
ไพรินทร์ ศรีสินทร
|
2559
|
การบูรณาการกิจกรรมในวิชาไวยากรณ์จีน กรณีศึกษาการใช้เกมประกอบการสอน
|
วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 65-79
|
|
ไพรินทร์ ศรีสินทร
|
2558
|
การตอบรับวรรณกรรมจีนสมัยใหม่ของผู้อ่านไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 23
|
|
ไพรินทร์ ศรีสินทร
|
2558
|
ภาพพจน์ของเทพสตรีและเทพธิดาที่เปลี่ยนไปในเทพนิยายจีน
|
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 23 ฉบับที่ 43 หน้า 127-145
|
|
ไพศาล สุขใจรุ่งวัฒนา
|
2563
|
ผลของการใช้เกมส์เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 หน้า 35-48
|
|
ภพ สวัสดี
|
2560
|
ไซอิ๋วและห้องสิน : มุมมองทางศาสนาและการเมือง
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 หน้า 9-40
|
|
ภรดี พันธุภากร
|
2561
|
จิตรกรรมฝาผนังศาลเจ้าจีน: การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ศิลปกรรมจีน ชุมชนลุ่มน้ำแม่กลอง ย่านตลาดโพธาราม จังหวัดราชบุรี
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว ปีที่ 13 ฉบับที่ 26 หน้า 131-144
|
|
ภวรัญชน์ ลิ้มตระกูล
|
2563
|
สัมพันธภาพปริทรรศน์: กรณีศึกษาการระบาดของโควิด-19 จาก จีนแผ่นดินใหญ่สู่ประเทศไทย
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 24 ฉบับที่ 2 หน้า 74-93
|
|
ภักคนันต์ เลื่องปัญญาวงศ์
|
2561
|
หยวนกับฐานะสกุลเงินระหว่างประเทศ: การเมืองระหว่างประเทศว่าด้วยการเป็นสกุลเงินหลัก
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 หน้า 139-152
|
|
ภักดีกุล รัตนา
|
2558
|
การศึกษาทัศนคติทางสังคมต่อคุณสมบัติ บทบาทและหน้าที่ของผู้หญิง จากแนวคิดที่ปรากฏในอารยธรรมอินเดียและจีน
|
วารสารข่วงผญา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 172 - 206
|
|
ภัครพล แสงเงิน
|
2558
|
101 คำถามสามก๊ก; คำถามขยายความคิด พินิจสามก๊ก
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 หน้า 246-259
|
|
ภัทรพงศ์ คงวัฒนา
|
2559
|
การศึกษาสัญญะความเป็นชายผ่านโฆษณาเครื่องสำอางผู้ชายในจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 143-170
|
|
ภัทรพงศ์ พื้นงาม
|
2558
|
หน่วยฉายานามที่เกี่ยวกับสัตว์ในวรรณกรรมจีนกำลังภายในของโกวเล้ง
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 "ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม"
|
|
ภัทรา พิเชษฐศิลป์
|
2564
|
ความคิด ความรัก และอาหาร: การศึกษาอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์ในภาษาจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 1 - 22
|
|
ภัทรา พิเชษฐศิลป์
|
2554
|
มโนทัศน์ของ ? x?n
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 124-152
|
|
ภัทราพร โชคไพบูลย์, สุธินี วงศ์วัฒนานุกุล, Xu Jinmei
|
2560
|
การพัฒนาทักษะการออกเสียงสัทอักษรภาษาจีนกลาง
|
วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 192-201
|
|
ภาณัฐ พัฒนวงศ์
|
2561
|
การกระจายตัวเชิงพื้นที่และเชิงชนชาติของกลุ่มธุรกิจการค้าของชาวไทยเชื้อสายจีนบริเวณย่านเยาวราช
|
วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 193 - 202
|
|
ภาณุเดช จริยฐิตินันท์, ผ่องพิชญ์ สวงรัมย์
|
2566
|
พระศยามตาราโพธิสัตว์: ที่มาประติมานวิทยา ความเชื่อของชาวพุทธทิเบตและไทย
|
วารสารจันทรเกษมสาร สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
|
|
ภาณุพงศ์ จันทร์ณรงค์ศร, ศุภกร คนคล่อง
|
2565
|
บทบาทของชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลในภาคเหนือตอนบนของไทย ในการ ขยายอิทธิพลรูปแบบอำนาจอ่อนของจีนภายใต้ข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง
|
วารสารจีนวิทยา [Journal of Sinology] ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
|
ภาภรณ์ แก้วประกอบ
|
2563
|
การศึกษาปัญหาของระบบการศึกษาของนักเรียนต่างชาติที่ศึกษาในประเทศจีนภายใต้กลยุทธ์ "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 38-60
|
|
ภาวเรศ ฟูน้อย
|
2567
|
การพัวพันเชิงความหมายและการใช้คําลักษณนาม “เปิ่น” “เกิน” และ “จู”
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 88 - 102
|
|
ภาสกร ศิริยะพันธ์
|
2524
|
จีน : สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงนโยบาย (ปลายทศวรรษ1960-ทศวรรษ 1970)
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 3 หน้า 76-98
|
|
ภุชชงค์ จันทวิช
|
2520
|
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติในสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน)
|
ศิลปากร ปีที่ 21 เล่ม 1 หน้า 58-69
|
|
ภุชชงค์ จันทวิช
|
2518
|
เครื่องปั้นดินเผาของจีน
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 123 หน้า 35-40 ถึง ฉบับที่ 124 หน้า 39-48
|
|
ภุชชงค์ จันทวิช
|
2526
|
เครื่องถ้วยจีนสมัยราชวงศ์ถังจากแหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ และป่ายาง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 74-82
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2566
|
ละโว้ในเอกสารโบราณจีน : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างละโว้และ ประเทศจีนในเอกสารโบราณและพงศาวดารจีน
|
วารสารจีนวิทยา [Journal of Sinology] ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2566
|
การศึกษา บันทึกเกี่ยวกับอาณาจักรละโว้ในเอกสารจีน สมัยราชวงศ์หมิง A Study of the Memorandum of Lavo Kingdom in Chinese Documents in the Ming Dynasty
|
มนุษยสังคมสาร (มสส.) มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 หน้า 105-123
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2564
|
คุณค่าสตรีตามแนวคิดปิตาธิปไตยในสังคมศักดินาจีน จากวรรณคดีเรื่อง ความฝันในหอแดง
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 50 ฉบับที่ 1 หน้า 17-40
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2563
|
สภาพปัญหาและอุปสรรคของการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนของสถานศึกษาในพื้นที่จังหวัดลพบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี และแนวทางการพัฒนา
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 65 - 106
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2561
|
การพัฒนาทักษะการจำคำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้หมวดนำตัวอักษรจีน
|
วารสาร มทร.อีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 99-111
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2561
|
การพัฒนาความรู้ ความเข้าใจไวยากรณ์ภาษาจีนกลางเรื่องคำกริยาแยกรวมด้วยการศึกษาข้อผิดพลาดของผู้เรียน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 109 - 139
|
|
ภูเทพ ประภากร
|
2559
|
การศึกษาการใช้ไวยากรณ์ภาษาจีนกลางของผู้เรียนชาวไทย กรณีศึกษา การใช้คำคุณศัพท์ที่อยู่ในรูปคำซ้ำ
|
วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 13-22
|
|
ภูเทพ ประภากร, กนกพร นุ่มทอง;ศิริวรรณ, ลิขิตเจริญธรรม
|
2566
|
การศึกษาความสัมพันธ์เชิงอํานาจของกลุ่มสะใภ้ตระกูลจย่าจากวรรณคดีเรื่องความฝันในหอแดง《红楼梦》
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเเม่ฟ้าหลวง ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 45-68
|
|
ภูมรินทร์ ภิรมย์เลิศอมร
|
2567
|
การศึกษาความหมายของอักษรและคำศัพท์จากอักษรหมวดนำ 鬼ในพจนานุกรมภาษาจีนปัจจุบัน
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 439-450
|
|
ภูมรินทร์ ภิรมย์เลิศอมร
|
2558
|
ข้อผิดพลาดในการเขียนตัวอักษรจีนของนิสิตวิชาเอกภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 "ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม"
|
|
ภูมิ ภูติมหาตมะ
|
2558
|
จีนย่านตลาดน้อย: ศรัทธาและเศรษฐกิจการค้าแห่งจีนสยาม
|
วารสารVeridian มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 2590-2606
|
|
ภูมิ มูลศิลป์
|
2560
|
วิวัฒนาการของรัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 1-13
|
|
ภูรดา เซี่ยงจ๊ง
|
2561
|
การถ่ายทอดอารมณ์ขันสะท้อนสังคมจีนในศตวรรษที่ 20
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 หน้า 49-73
|
|
ภูรดา เซี่ยงจ๊ง
|
2557
|
บุคลิกภาพผิดปกติของตัวละครในวรรณกรรมจีนสมัยขบวนการวัฒนธรรมใหม่ (ค.ศ. 1918-1924)
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 หน้า 179-203
|
|
ภูริวรรณ วรานุสาสน์
|
2559
|
สัญลักษณ์และเรื่องเล่าจากจิตรกรรมศาลเจ้าจีน: กรณีศึกษาจากศาลเจ้าบึงพระ ต.บึงพระ อ.เมือง จ.พิษณุโลก
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 10 หน้า 24 -27
|
|
ภูริวรรณ วรานุสาสน์
|
2554
|
การเดินทางไปสอบจอหงวนในกวีนิพนธ์ฉือราชวงศ์ซ่ง
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 265-287
|
|
ภูริวรรณ วรานุสาสน์
|
2553
|
การเดินทางเพื่อแสวงหาความรู้อันยิ่งใหญ่ในกวีนิพนธ์ฉือราชวงศ์ซ่ง
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 4 หน้า 86-113
|
|
ภูวกร ฉัตรบำรุงสุข
|
2559
|
การศึกษาการเรียนรู้ความหมายของอักษรประสมบอกความหมายและเสียงของนักศึกษาเอกวิชาภาษาจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 184-218
|
|
ภูวดล ทรงประเสริฐ
|
2530
|
ทุนจีนในภาคใต้ : บทวิเคราะห์เฉพาะยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง ปีที่ 6 ฉบับที่ 1-2 หน้า 89-106
|
|
ภูวดล ทรงประเสริฐ
|
2530
|
บูรณาการแห่งชาติและการดำรงความเป็น 'จีน' ในบริบทของประวัติศาสตร์ภาคใต้
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 48-63
|
|
ภูวดล ทรงประเสริฐ
|
2522
|
ความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีนในอดีตและปัจจุบัน
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน ฉบับที่ 75 หน้า 3-56
|
|
ภูวดล ทรงประเสริฐ
|
2521
|
ท่าทีของไทยที่มีต่อการลี้ภัยเข้ามาของ ดร.ซุนยัดเซ็น
|
จุลสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 50-65
|
|
ภูวเมศฐ์ เลาบวรเศรษฐี
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำบุพบทในภาษาจีนกลางที่สื่อความหมายเทียบได้กับคำว่า "จาก" ในภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 9 หน้า 209 - 230
|
|
ภูวษา เรืองชีวิน
|
2561
|
จิตรกรรมฝาผนังพระอุโบสถวัดบุปผาราม อ.เมือง จ.ตราด: ภาพสะท้อนสัญลักษณ์อิทธิพลจีนที่ปรากฏในภาคตะวันออก
|
วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 หน้า 261 - 279
|
|
มนตรี เจนวิทย์การ
|
2523
|
การเสนอข่าวเกี่ยวกับจีนในหนังสือพิมพ์ไทย นับตั้งแต่การรื้อฟื้นความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐประชาชนจีน-ประเทศไทย ในปี 1975 (แปลและเรียบเรียงโดย อุษณีย์ ฉัตรานนท์)
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 90-160
|
|
มรกตวงศ์ ภูมิพลับ
|
2562
|
บทบาทและอิทธิพลทางการเมืองและเศรษฐกิจของชาวจีนในเวียดนาม ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 17 ถึง 1975
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 133 - 155
|
|
มัสยามาศ ชัยชนะ, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
ภาพสะท้อน สังคม จีน สมัยราชวงศ์ซ่งเหนือผ่านบันทึกตงจิงเมิ่งหวาลู่ ตามแนว วาทกรรมวิเคราะห์
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
มัสยามาศ ชัยชนะกิจพงษ์ กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
การวิเคราะห์แนวคิดและ กลวิธีการนําเสนอแนวคิดในวรรณกรรม สําหรับเยาวชนของปิงซิน AN ANALYSIS OF CONCEPT AND PRESENTATION TECHNIQUE IN CHILDREN LITERATURE OF BING XIN
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 95-109
|
|
มาตยา อิงคนารถ
|
2522
|
อภิสิทธิชนชาวจีนในสมัยราชวงศ์ชิง
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ 1 หน้า 119-131
|
|
มารุต อัมรานนท์
|
2522
|
อิทธิพลศิลปะจีนที่มีต่อลวดลายล้านนา
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 120-130
|
|
มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
2549
|
มองชาวจีนอพยพผ่านจิตรกรรมฝาผนัง
|
ดำรงวิชาการ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 100-125
|
|
มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
2546
|
แลหลังภาพชีวิตชาวจีนจาก "หมิงฉี้"
|
ดำรงวิชาการ ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 หน้า 75 - 108
|
|
มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
2527
|
เครื่องถ้วยจีนพบที่ราชบุรี
|
เมืองโบราณ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 31-48
|
|
มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
2520
|
วัฒนธรรมสมัยหินใหม่ในประเทศจีน
|
โบราณคดี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 87-93
|
|
มาลินี คัมภีรญาณนนท์
|
2519
|
การค้นพบอดีตของจีน
|
โบราณคดี ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 หน้า 89-95
|
|
มาลินี คัมภีรญานนท์
|
2552
|
ขงจื่อกับผลงานศิลปะที่หลากหลายมุมมอง
|
วารสารดำรงวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 37-50
|
|
มาลินี ดิลกวณิช
|
2532
|
ว่าด้วยภูมิหลังของการละครจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 31-40
|
|
มาลินี ดิลกวณิช
|
2527
|
เอกลักษณ์ไทยในสามก๊ก รูปแบบการประพันธ์
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 124-133
|
|
มาลี วรลัคนากุล
|
2560
|
การศึกษาวิเคราะห์กลวิธีการแปลวรรณกรรมนวนิยายกำลังภายใน ฉบับแปลภาษาไทยเรื่อง กระบี่ใจพิสุทธิ์ จากต้นฉบับภาษาจีน เรื่องเหลียนเฉิงเจวี๋ย(???)
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 79-104
|
|
มินท์ธิตา ธนพิบูลโรจน์, ปพนพัชร์ กอบศิริธีร์วรา
|
2566
|
ภาพแทนสตรีในสังคมขงจื๊อนิยม ผ่านภาพยนตร์โฆษณาเกาหลีใต้
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2560
|
การพรรณนาภาษาปู้ยังในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 160-202
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2559
|
การพรรณนาภาษาหลีในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 43
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2556
|
ข้อสังเกตเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเสียงพ่นลมในภาษาไทยมาตราฐานและเสียงไม่พ่นลมในภาษาไทยถิ่นเหนือกับคำในภาษาจีน
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 125-137
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2555
|
การสำรวจและศึกษาวิเคราะห์ชื่อร้านค้า ภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีน ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดอุบลราชธานี
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 59-89
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2553
|
การศึกษาวิเคราะห์ทางภาษาศาสตร์เชิงประวัติศาสตร์ของภาษาตระกูลไท-จีน เรื่อง ความสัมพันธ์ของเสียง /h/ ในภาษาไทยถิ่นอีสานกับเสียง /h/ ในภาษาจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 68-90
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2552
|
อุปมาและสัญลักษณ์ความรักในภาษาจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 141-158
|
|
เมชฌ สอดส่องกฤษ
|
2551
|
"ระฆังราว" เครื่องดนตรีจีนโบราณที่หายสาบสูญไปนับพันปี
|
วารสารเพลงดนตรี ปีที่ 14 ฉบับที่ 2
|
|
เมตตา วงศ์จงใจหาญ
|
2560
|
ประเพณีพิธีจีนในราชสำนักไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 1 - 14
|
|
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม
|
2566
|
Emperor Taizong of Tang’s Question and Xuánzàng’s Reply
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 หน้า 217-241
|
|
เมธี พิทักษ์ธีระธรรม, ปิยาภรณ์ ว่องวรางกูร, พรพิมล ศรีหมอก
|
2563
|
ชีวประวัติพระคังเซิงฮุ่ยในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนแปล (๑)
|
วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 หน้า 104 - 138
|
|
เม่าไห่ จง, สมเกียรติ รักษ์มณี, บุญเลิศ วิวรรณ์
|
2561
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำเรียกผีและการตั้งชื่อผีในวัฒนธรรมความเชื่อเรื่องผีของไทยกับจีน
|
วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 99-112
|
|
แม่ชีธรรมอธิษฐาน พรบันดาลชัย
|
2563
|
บทวิจารณ์หนังสือ: Book Review จวงจื่อฉบับสมบูรณ์
|
วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 789-797
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2521
|
กวีนิพนธ์แบบฉือ
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 137 หน้า 24-36 ถึง ฉบับที่ 144 หน้า 43-52
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2520
|
เทวกวีหลีแป๊ะ
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 133 หน้า 22-39 ถึง ฉบับที่ 134 หน้า 41-64
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2518
|
เตาโผ อรรถกวียิ่งใหญ่สมัยถัง
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 125 หน้า 1-12,25 ถึง ฉบับที่ 128 หน้า 8-30
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2517
|
สามก๊กจี่และสามก๊กจี่เอี้ยนหงี
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 117 หน้า 4-22
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2513
|
โจโฉ โจสิด โจผี ยอดกวียุคสามก๊ก
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 92 หน้า 4-29
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2510
|
ส่วนที่มีลักษณะคล้ายคลึงระหว่างภาษาไทยกับภาษาจีน
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 78 หน้า 36-69
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2509
|
วรรณคดีสมัยฮั่น
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 68 หน้า 64-86, ฉบับที่ 72 หน้า 36-49
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2508
|
ตำนานขนมจ้างและจินตกวีคนแรกของจีน
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 63 หน้า 24-39, 17 ถึง ฉบับที่ 65 หน้า 58-72
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2507
|
วรรณคดีสมัยขงจื้อ
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 57 หน้า 40-52
|
|
ยง อิงคเวทย์
|
2507
|
อันเนื่องมาแต่ 'ชุนชิว' ของขงจื้อ : วรรณกรรมประวัติศาสตร์สมัยเลียดก๊ก
|
จันทรเกษม ฉบับที่ 58 หน้า 32-48
|
|
ยงซิ่ง ปัน
|
2566
|
การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์ผู้หญิงในภาษาไทยและภาษาจีนในอินเทอร์เน็ต
|
วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ สถาบันส่งเสริมและพัฒนาวิชาการดอกเตอร์เคน
|
|
ยศไกร ส.ตันสกุล
|
2557
|
จากวรรณกรรมคลาสสิกสู่หนังสือขายดี : การผลิตสามก๊กให้เป็นสินค้าหลังปี 2540
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 15-43
|
|
ยศพนธ์ นิติรุจิโรจน์
|
2562
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารรามคำแหง ฉบับนิติศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 39-66
|
|
ย่าหลิน หลี่, ปิติวรรธน์ สมไทย, ภานุ สรวยสุวรรณ
|
2567
|
ภาพวาดชิงหมิงริมนที : การศึกษาจิตวิญญาณทางวัฒนธรรมเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานจิตรกรรม ทะเลเมฆ
|
วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 79-92
|
|
ยุพเรศ มิลลิแกน
|
2512
|
หนังสือพิมพ์จีนในประเทศไทย
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 89-96
|
|
ยุพิน คล้ายมนต์
|
2560
|
การศึกษาคลังข้อมูลสารสนเทศดิจิทัลของมหาวิทยาลัยจีน
|
วารสารVeridian มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 หน้า 186-197
|
|
เย่ ซง, สนิท สัตโยภาส, ขวัญใจ กิจชาลารัตน์
|
2557
|
ความโดดเด่นของนวนิยายจีน เรื่อง เมืองชายแดน
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 93-100
|
|
เยาวเรศ จุฑาศิลปารัตน์, ศศรักษ์ เพชรเชิดชู
|
2561
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำเรียกขานในนวนิยายจีนเรื่อง เฉินเตียวเสียลฺหวี่ กับฉบับแปลไทยเรื่อง เอี้ยก่วยเจ้าอินทรี
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 179 - 195
|
|
เยี่ยน เหมิง, สนิท สัตโยภาส, ขวัญใจ กิจชาลารัตน์
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบเรื่องขำขันไทยกับเรื่องขำขันจีน
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 หน้า 53-67
|
|
รติรัตน์ กุญแจทอง, กนกพร นุ่มทอง
|
2559
|
เตือนหญิง: วรรณกรรมสอนสตรีที่ประพันธ์ขึ้นภายใต้วัฒนธรรมขงจื๊อ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 50-72
|
|
รพีพรรณ จักร์สาน
|
2558
|
ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์จีนและการสร้างอัตลักษณ์ของเมืองแม่สอด ตั้งแต่ พ.ศ.2510 ถึง พ.ศ. 2554
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 15 - 39
|
|
รวีรำไพ พิพัฒนลักษณ์
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์ในการตอบรับคำขอโทษของคนจีนและคนไทย
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 12 ฉบับที่ 6 หน้า 682-696
|
|
รังษี ฮั่นโสภา
|
2531
|
ฮ่องกง หมาเก๊า ไต้หวัน
|
เอเชียรายปี หน้า 130-135
|
|
รังษี ฮั่นโสภา
|
2529
|
จีน
|
เอเชียรายปี หน้า 10-19
|
|
รังสี ฮั่นโสภา
|
2524
|
ศาสนาในจีน
|
แลใต้ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 72-80
|
|
รังสี ฮั่นโสภา
|
2527
|
การศึกษาภาษาจีน : ข้อสังเกตจากการศึกษาในสถาบันภาษากรุงปักกิ่ง (2524-2526)
|
รูสมิแล ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 63-68
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2563
|
ชาติพ่าย ชายป่วย: ความเป็นชาติ ความเป็นชาย และความป่วยไข้ ใน จ.ม. ของอวี้ต๋าฟู
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2563
|
ชาติพ่าย ชายป่วย: ความเป็นชาติ ความเป็นชาย และความป่วยไข้ใน จม ของอวี้ต๋าฟู
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 75-94
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2563
|
ภาพแทน "ความเป็นอื่น" ของผู้หญิง: สำนึกสตรีกับความป่วยไข้ในวรรณกรรมจีนสมัยใหม่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 37
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2562
|
การประชุมวิชาการระดับชาติ จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 5
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 209 หน้า
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2561
|
การแปลกับความเป็นสมัยใหม่ของจีน
|
วารสารการแปลและการล่าม ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 78-108
|
|
รัชกฤช วงษ์วิลาศ
|
2560
|
บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมของหูซื่อ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 109-129
|
|
รัชตพล ชัยเกียรติธรรม, พิมพ์ฟ้า สุวรรณหงษ์
|
2565
|
ความแตกต่างการเขียนคำยืมภาษาจีนในภาษาไทยที่ภาษาจีนเป็นคำเดียวกัน
|
วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
|
รัญวรัชญ์ พูลศรี, ปพนพัชร์ กอบศิริธีร์วรา,พิสิฐ อ านวยเงินตรา, ลลิดา วิษณุวงศ์
|
2563
|
ขงจื๊อนิยมและอิทธิพลต่อสตรีในเกาหลีและเวียดนาม
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 397-420
|
|
รัฐกิตติ์ เลิศวิศวะ
|
2561
|
อิทธิพลของวัฒนธรรมจีนในญี่ปุ่น: กรณีศึกษาประวัติศาสตร์สมัยอะสุกะ
|
วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ฉบับพิเศษ ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 หน้า 265-277
|
|
รัฐกิตติ์ เลิศวิศวะ
|
2560
|
การศึกษาเปรียบเทียบอักษรคันจิในภาษาญี่ปุ่นและอักษรจีนในภาษาจีน
|
อินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 185-197
|
|
รัฐพร ศิริพันธุ์
|
2561
|
แนวทางการเตรียมความพร้อมและวิธีการเรียนสำหรับผู้เริ่มเรียนภาษาจีน
|
วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 103-112
|
|
รัตนา จันทรสารโสภณ
|
2563
|
ข้าวต้มกับโจ๊กของชาวแต้จิ๋วในประเทศไทย
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 181 - 190
|
|
รัตนาพร เศรษฐกุล
|
2557
|
ค่าวเสิกโลกธีสองแลเจ้าแผ่นดินตนชื่อเจ้าหม่อมผาคางนอรแรแลเสิกยิ่วล้อ: บันทึกประวัติศาสตร์สิบสองปันนาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2
|
วารสารวิจิตรศิลป์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 125 - 158
|
|
เรณุกา สิทธิตถะวงศ์
|
2562
|
การจัดการพฤติกรรมนักท่องเที่ยวจีนที่ไม่เหมาะสมโดยรัฐบาลจีน
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปืที่ 39 ฉบับที่ 2 หน้า 123-136
|
|
เรณุกา สิทธิตถะวงศ์
|
2559
|
การใช้ถ้อยคำเปรียบเทียบ “สุนัข”กับ “คน”ในภาษาไทยและภาษาจีน
|
วารสารเทคโนโลยีภาคใต้ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 159-167
|
|
เริงฤทธิ์ เอกวงศ์อนันต์, อารยะ ศรีกัลยาณบุตร
|
2558
|
การออกแบบเรขศิลป์บรรจุภัณฑ์ชุดขนมไหว้เจ้าเพื่อสื่อสารเทศกาลต่าง ๆ สำหรับกลุ่มเป้าหมายเจนเนอเรชั่นวาย
|
วารสารศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 1 - 11
|
|
เรือนแก้ว ภัทรานุประวัติ
|
2557
|
การสืบทอดความเป็นจีนสู่ลูกหลานในสังคมไทย
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 หน้า 174-193
|
|
ลดาวัลย์ ไข่คำ
|
2566
|
จากนโยบาย “ลูกคนเดียว” สู่ “ลูกสามคน
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ปีที่ 49 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 13-26
|
|
ลลิดา วิษณุวงศ์
|
2567
|
ภาพสะท้อนความเป็นจีนที่ปรากฏในตัวละครแนวคนธรรมดาสามัญกรณีศึกษาเกิ่งซิงกวงจากละครโทรทัศน์เรื่องซิงกวงชั่นลั่น
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 77-91
|
|
ลลิดา วิษณุวงศ์, กนกพร นุ่มทอง, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2566
|
การศึกษารากเหง้าแห่งชีวิตสัญลักษณ์ที่ปรากฏในนวนิยายจีน เรื่อง “ตำนาน รักทุ่งสีเพลิง”
|
วารสาร Lawarath Social E-Journal คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
|
|
ลลิดา วิษณุวงศ์, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2566
|
การศึกษาการแปลสำนวนสุภาษิต ในนวนิยายจีนเรื่อง “หงเกาเหลียงจยาจู๋” ฉบับ แปลไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
ลั่นทม จอนจวบทรง, อัญชลี สมบูรณ์, อโศก พลบํารุง, ถนอมสิน พลลาภ, เอกชัย ปิ่นแก้ว
|
2567
|
ประสบการณ์การขจัดความยากจนแบบครอบคลุมและตรงจุดของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและการทํางานเชิงพื้นที่เพื่อแก้ไขความยากจนแบบเบ็ดเสร็จแม่นยําในประเทศไทย
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 252 - 271
|
|
ลำหับ (นามแฝง)
|
2521
|
ในโลกของบู๊ลิ้ม
|
รัฐวิสาหกิจ
|
|
ลิขิต ธีรเควิน
|
2520
|
การปฏิรูปสมัยราชวงศ์แมนจูก่อนการปฏิวัติ ปี ค.ศ. 1911-12
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 เล่ม 3 หน้า 103-123
|
|
เลียง เสถียรสุด (ผู้แปล)
|
2515
|
สยาม-ในจดหมายเหตุจีน
|
แถลงงานประวัติศาสตร์เอกสารโบราณคดี ปีที่ 6 เล่มที่ 3 หน้า 55-96
|
|
เลียง เสถียรสุด
|
2525/2527
|
ประวัติแคว้นสิบสองพันนา
|
แถลงงานประวัติศาสตร์เอกสารโบราณคดี ปีที่ 16 เล่ม 1 หน้า 29-48 ถึงปีที่ 18 เล่ม 1 หน้า 103-130
|
|
วชิรวิชญ์ ตั้งธนานุวัฒน์
|
2566
|
"ความสัมพันธ์ระหว่างผังสถาปัตยกรรมวัดราชโอรสารามกับวรรณกรรมพุทธมหายานไซอิ๋ว The relationship between the Architectural Plans of Wat Ratcha-Orasaram and Mahayana Buddhist literature-XIYOUJI"
|
"วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ" "ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 124-144"
|
|
วณิชย์ 5 (นามแฝง)
|
2530
|
ชนชาติต้ง
|
เมืองโบราณ ปีที่ 13 ฉบับที่ 4 หน้า 92-96
|
|
วรท อุณหสุทธิยานนท์
|
2565
|
ความคิดเกี่ยวกับการหลีกลี้ในคัมภีร์จวงจื่อ
|
วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
วรพงษ์ ปะดุกา, ธนกร ชาญนุวงค์, อรภา ศิลมัฐ, ปวินท์ สุวรรณกุล, หลิน ยูวี่ เซิง
|
2566
|
การศึกษาประสิทธิผลของการใช้ขี้ผึ้งตำรับ "เสว่ฟูจู๋ยวี" ในการรักษาภาวะปวดชนิด เลือดคั่งตามศาสตร์การแพทย์แผนจีนในผู้สูงอายุ
|
วารสาร มฉก.วิชาการ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
วรพงษ์ ปะดุกา, สาคร แง้นกลางดอน
|
2561
|
การเปรียบเทียบจุดฝังเข็มแพทย์แผนจีนกับจุดนวดแพทย์แผนไทย
|
วารสารมฉก.วิชาการ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 22 ฉบับที่ 43-44 หน้า 153-165
|
|
วรรธนันท์ โรจน์ประภัศร์
|
2563
|
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ข้ามพรมแดนจากประเทศจีนและผลกระทบต่อตลาดพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 191 - 202
|
|
วรวิทย์ เจริญเลิศ
|
2527
|
สี่ทันสมัย : การพัฒนาอุตสาหกรรมภายใต้สภาพบังคับ
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 14-41
|
|
วรวิทย์ เจริญเลิศ
|
2524
|
วิจารณ์บทวิเคราะห์อย่างสังเขปของการปฏิวัติจีน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง ปีที่ 1 เล่มที่ 5-6 หน้า 63-88
|
|
วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ
|
2562
|
บทบาทของชาวจีนทางด้านเศรษฐกิจไทย จากสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 หน้า 246-262
|
|
วรารัตน์ อนุสัตย์, จำเนียร พลหาญ
|
2561
|
ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนการสอนภาษาจีนที่มีประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|
วารสารบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 65-74
|
|
วรินทร์ทิพย์ วรวิศัทวรรณ, ยชอนัญ เชื้อสำราญ, วรวุฒ สมัยเทอดศักดิ์ และศุกล ศิริศักดิ์
|
2566
|
งานสร้างสรรค์ ดนตรีสากลผสมเครื่องดนตรีไทยและกู่เจิง “ลาวดวงเดือน”
|
มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
|
|
วรีสรา จารย์ปัญญา
|
2557
|
การศึกษา เรื่องเล่าอาฝานถี ในฐานะนิทานมุขตลกแนวเสียดสี
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 76 - 105
|
|
วสันต์ ปัญญาแก้ว
|
2550
|
เสียงไตลื้อ การเดินทาง/เคลื่อนที่ของพลเมืองลื้อ สิบสองปันนา
|
วารสารทางวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 193 - 233
|
|
วัชรพล ศิริสุวิไล, วุฒิชัย สว่างแสง, ปรีมา ตันติพานิชธีระกุล, รัชนี ปิยะธำรงชัย, นิษา เรืองวงศ์วิทยา
|
2566
|
การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการแปลภาษาจีนบนป้ายบริการนักท่องเที่ยวจังหวัดหนองคาย
|
มนุษยศาสตร์สาร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
|
วัชราภรณ์ จูฑะรงค์
|
2560
|
หนังสือเรียนภาษาจีนกับการพัฒนาทักษะภาษาจีนของนักศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย
|
วารสารบัณฑิตวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 16
|
|
วัชรี บริบูรณ์
|
2563
|
วิเคราะห์ทิศทางของสาธารณรัฐประชาชนจีนต่ออนาคต “หนึ่งประเทศสองระบบ” ของฮ่องกง
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 203 - 212
|
|
วัฒนา ประสานทอง, เดือนเพ็ญ ธีรวรรณวิวัฒน์
|
2560
|
การศึกษาประสบการณ์ในการเรียนภาษาจีนระดับมัธยมศึกษา
|
วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 32-41
|
|
วันกวี สิงห์ธนะ
|
2561
|
การศึกษาเชิงเปรียบเทียบรูปแบบทางไวยากรณ์ระหว่างส่วนเติมเต็มบอกผลของภาษาจีนกับรูปแบบในภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 67 - 81
|
|
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน
|
2532
|
รายงานการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชนบทในสาธารณรัฐประชาชนจีน : ศึกษาเปรียบเทียบยุคเหมาและยุคเติ้ง
|
โครงการจีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน
|
2527
|
ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 4 หน้า 154-165
|
|
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน
|
2525
|
การค้าระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 13-28
|
|
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน
|
2524
|
ระบบการธนาคารและการเงินภายในของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารวิทยาลัยการค้า ปีที่ 2 ฉบับที่ 4 หน้า 49-67
|
|
วันรักษ์ มิ่งมณีนาคิน
|
2523
|
การพัฒนาอุตสาหกรรมของจีนกับนโยบายสี่ทันสมัย
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 35-36
|
|
วาริ ว่องวโรปกรณ์
|
2562
|
"LIHECI" ข้อพึงระมัดระวัง สำหรับผู้เรียนและผู้สอนชาวไทย
|
วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 หน้า 1,645-1,669
|
|
วาริ ว่องวโรปกรณ์, ศิริพร นวมอารีย์
|
2567
|
การศึกษาความแตกต่างเชิงความหมายของคําว่า “神 (shén)” และ “仙 (xiān)”
|
มังรายสาร วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 61-76
|
|
วารุณี ภูสนาม
|
2549
|
บ้านดินในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 21
|
|
วารุณี หวัง
|
2558
|
คุณค่าและความหมายของลวดลายมงคล ในอาคารพาณิชย์ยุคแรก 4 จังหวัดริมแม่นํ้าโขง
|
วารสารหน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 หน้า 147 - 164
|
|
วาสนา วงศ์สุรวัฒน์
|
2564
|
พหุวัฒนธรรมกับการปฏิวัติ: ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับขบวนการทางสังคมแนวพุทธ
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 238 - 268
|
|
วิกรม กรุงแก้ว
|
2563
|
วัฒนธรรมการแต่งกายของสตรีชาติพันธุ์บาบ๋าในจังหวัดฝั่งทะเลอันดามัน
|
สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 หน้า 60 - 71
|
|
วิกานดา แสงกล้า, ศิริลาภ เหลืองเจริญลาภ
|
2559
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำรื่นหูในภาษาไทยและภาษาจีน
|
วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 82-86
|
|
วิชุดา พรายยงค์, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ
|
2556
|
คํายืมภาษาจีนในวรรณกรรมสมัยกรุงธนบุรี: การศึกษาเชิงสังคมและวัฒนธรรม
|
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 36 ฉบับที่ 1 หน้า 110-119
|
|
วิชุมา แก้วมโนธรรม, ศศรักษ์ เพชรเชิดชู
|
2562
|
การศึกษาเปรียบเทียบสำนวนจีน ฯ
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 214 - 238
|
|
วิชุลดา มาตันบุญ
|
2566
|
ความสัมพันธ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลื้อในจีน ลาว และไทย
|
วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน กองส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
วินัย พงศ์ศรีเพียร
|
2527
|
อันนัมฉินาภิเภท : สำนึกจากอดีตและภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ ในกรณีความขัดแย้งระหว่างจีนกับเวียดนาม
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 80-107
|
|
วินัย สุกใส
|
2554
|
วิวัฒนาการวรรณกรรมจีนในภาษาไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2411–2475 (ตอนที่ 2)
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 131-176
|
|
วินัย สุกใส
|
2553
|
วิวัฒนาการวรรณกรรมจีนในภาษาไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2411–2475 (ตอนที่ 1)
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 หน้า 212-240
|
|
วิบูลย์ กิตติภาภรณ์, สุรพัฒน์ เทียนส่งรัศมี
|
2552
|
กระบวนการยุติธรรมของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 1 ฉบับ รพี' 52 หน้า 155-172
|
|
วิบูลย์ ตั้งกิตติภากรณ์
|
2553
|
วัฒนธรรมและอุปนิสัยของนักธุรกิจในสำนักต่างๆ ของจีน
|
วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 1 ฉบับ รพี' 53 หน้า 76-93
|
|
วิภา จิรภาไพศาล
|
2550
|
“ปรัชญาขงจื๊อในสังคมไทย ความเป็นจีนที่เปลี่ยนไปตามบริบท” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 28 ฉบับที่ 12 หน้า 32-35
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2529
|
ชาวจีนโพ้นทะเลกับศิลปวัฒนธรรมจีนในเอเชียอาคเนย์
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 28-44
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2529
|
ไต้หวัน (การเมืองและสังคม, เศรษฐกิจและความสัมพันธ์กับต่างประเทศ ในปี 2528)
|
เอเชียรายปี หน้า 44-49
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2519
|
วิเคราะห์แนวการวิจารณ์วรรณกรรมจีน
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 5 เล่ม 3 หน้า 38-46
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2519
|
สังคม สังคมนิยมก็มีชนชั้น
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 27-34 / อักษรศาสตร์พิจารณ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 8 หน้า 58-65
|
|
วิภา อุตมฉันท์
|
2517
|
แนะนำสาธารณรัฐประชาชนจีน : หลี่ต้าเจา ผู้นำลัทธิมาร์กซ์เข้าสู่ประเทศจีน
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 12 หน้า 71-80
|
|
วิภาพรรณ ขุนบุญจันทร์
|
2561
|
ภาพลักษณ์ของ “จีน” ที่ปรากฏในบันทึกการเดินทางของชาวไทย ภายหลังการเปิดสัมพันธ์ทางการฑูตไทยจีน พ.ศ.2518 (ตอนที่1)-องค์ประกอบด้านโครงเรื่อง
|
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 30-43
|
|
วิมลรัตน์ วศินนิติวงศ์
|
2560
|
สถานภาพการศึกษาวรรณคดีจีนสมัยใหม่และวรรณคดีจีนร่วมสมัยในประเทศไทย
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 หน้า 41-63
|
|
วิลาสินี พิบูลย์เศรษฐ์
|
2559
|
นโยบายต่างประเทศจีนต่อแอฟริกาในศตวรรษที่ 21
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 237 - 248
|
|
วิไล ธรรมวาจา
|
2563
|
กระบวนการ สร้างชุดแบบฝึกเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพของเสียง ในการกล่าวสุนทรพจน์ภาษาไทยสำหรับนักศึกษาจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 1-12
|
|
วิไล ลิ่มถาวรานันต์
|
2561
|
กลวิธีการใช้อักษรจีนในคำทับศัพท์ชื่อ-สกุลคนไทย: รูปแบบการถ่ายเสียงพยางค์และการกำกับเสียงด้วยอักษรจีน
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับพิเศษ หน้า 101-126
|
|
วิไล ลิ่มถาวรานันต์
|
2558
|
ชื่อร้านค้าภาษาจีนในประเทศไทย : แนวนิยมในการตั้งชื่อร้านค้ากับภาพสะท้อนบทบาทของชุมชนจีนในสังคมไทย
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม
|
|
วิไลพร สุจริตธรรมกุล, ประภากร พนัสดิษฐ์
|
2565
|
การศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับคัมภีร์สี่สิบสองบทสูตร
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
วิไลพร สุจริตธรรมกุล, ประภากร พนัสดิษฐ์, เมธี พิทักษ์ธีระธรรม
|
2566
|
คัมภีร์เกาเซิงจ้วนยุคเหลียง: ประวัติ ที่มาและโครงสร้างสำคัญ
|
วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
วิไลพร สุุจริตธรรมกุล และ ประภากร พนัสดิษฐ์
|
2565
|
ชีวประวัติและคุณูปการของพระธรรมรัตนะในคัมภีร์เกาเซิงจ้วนแปล : พระภิกษุชาวต่างชาติยุคราชวงศ์ฮั่น
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
|
วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์
|
2552
|
ปฏิทินจีนโบราณ: ที่มาของปฏิทินไทยโบราณ "ปีหนไทย"
|
ภาษาและภาษาศาสตร์ ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 หน้า 34 - 52
|
|
วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์
|
2550
|
คัมภีร์เต๋า: หลักฐานชี้แหล่งกำเนิดของคนไท-ไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 70-111
|
|
วิวัฒน์ มุ่งการดี
|
2528
|
ความขัดแย้งจีน-โซเวียตและการเมืองของโลกแนวโน้มและทิศทางในอนาคต
|
เอเซียปริทัศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 70-103
|
|
วิวัฒน์ มุ่งการดี
|
2527
|
ความขัดแย้งจีน-โซเวียตและการเมืองของโลก แนวโน้มและทิศทางในทศวรรษ 1980 และหลังจากนั้น
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 70-103
|
|
วิวัฒน์ รุ่งวรรธนวงศ์ (ผู้แปล)
|
2519
|
มองสาธารณรัฐประชาชนจีนจากทรรศนะทางศาสนา
|
วารสารจีนศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 59-64
|
|
วิวัฒน์ รุ่งวรรธนวงศ์
|
2523
|
นายกรัฐมนตรีคนใหม่แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน เจ้าจือหยาง
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 129-134
|
|
วิสุทธิ์ โพธิแท่น
|
2525
|
ภาพสะท้อน 'การเมือง' จากนิยายจีนกำลังภายใน (แปล)
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 65-97
|
|
วีรชาติ ดวงมาลา
|
2567
|
ภาพสะท้อนสังคมจีนที่ปรากฏในประชุมนิทาน โซวเสินจี้
|
มนุษยสังคมสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 หน้า 100-119
|
|
วีระจักร์ สุเอียนทรเมธี
|
2557
|
แบบลักษณ์เครื่องกระเบื้องจิ่งเต๋อเจิ้น
|
วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 หน้า 38-66
|
|
วุฒิกรณ์ ชูวัฒนานุรักษ์
|
2565
|
ธุรกิจ โลกาภิบาลด้านสิ่งแวดล้อม และปัญหาการแปรสภาพเป็นทะเลทราย : กรณี ศึกษากลุ่มบริษัทอี้ลี่ในการต่อสู้ กับการแปรสภาพเป็นทะเลทรายในจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
วุฒิชัย มูลศิลป์
|
2519
|
ขุนศึกจีน
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 34-57
|
|
วุฒิชัย มูลศิลป์
|
2529
|
ไปซื้อหนังสือที่หลิวลี่ฉาง แหล่งปัญญาเก่าแก่ของปักกิ่ง
|
ถนนหนังสือ ปีที่ 3 ฉบับที่ 12 หน้า 52-55
|
|
วุฒิชัย มูลศิลป์
|
2524
|
ปัญหาของจีนในกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19
|
วารสารประวัติศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 55-62
|
|
วุฒิพงษ์ ประพันธมิตร, กนกพร นุ่มทอง
|
2565
|
อารมณ์ปรารถนากับจุดยืนแห่งอุดมการณ์ทางเพศ : กลวิธีการแปล บทสังวาสใน นวนิยายเรื่อง เซี่ยงไฮ้เบบี้
|
วารสารธรรมศาสตร์ กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
|
|
เวินเยวียนข่าย แปลและเรียบเรียงโดย วิทิต วัณนาวิบูล
|
2529
|
การแพทย์และเภสัชของชนชาติไทในสิบสองพันนา
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 หน้า 70-73
|
|
ไวฮอฟฟ์, โบโด
|
2522
|
"ประวัติศาสตร์จีนในทัศนะของชาวยุโรปและชาวจีน" แปลโดยมาตยา อิงคนารถ
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 335-380
|
|
ศรัณย์ พิมพ์งาม, Yihao Li
|
2562
|
หลักสำคัญของกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารกฎหมาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 หน้า 63-84
|
|
ศริญญา ผั้วผดุง
|
2554
|
การศึกษาเปรียบเทียบตัวบทของละครพันทางเรื่องบ้วนฮวยเหลากับนิยายอิงพงศาวดารจีนต้นฉบับเรื่องว่านฮวาโหลวและอู๋หู่ผิงซี
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 227-264
|
|
ศรีวิลาส มูลเหลา ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์ ธนนันท์ บุ่นวรรณา
|
2563
|
ความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779)
|
วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
|
ศรีวิลาส มูลเหลา, ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, ธนนันท์ บุ่นวรรณา
|
2563
|
ความสัมพันธ์ทางการเมืองลาว-จีน ภายใต้ระบบบรรณาการสมัยล้านช้าง (ในช่วง ค.ศ. 1353 – 1779)
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 138 - 162
|
|
ศรีศักดิ์ เจียมวัฒนาเลิศ
|
2554
|
ความเป็นมาของเรื่องต๋งหย่งพบเทพธิดา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 หน้า 112-130
|
|
ศรีศักร วัลลิโภดม
|
2531
|
คนจีนในเมืองไทย
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับ 4 หน้า 24-35
|
|
ศรีศักร วัลลิโภดม
|
2522
|
จีนในไทย
|
เมืองโบราณ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 หน้า 39-62
|
|
ศรีสุภางค์ ธนะวัฒน์สัจจะเสรี, สุรีย์ ชุณหเรืองเดช
|
2567
|
การศึกษาเปรียบเทียบแบบอย่างของ“คนดี”หรือ “บุคคลที่น่ายกย่องนับถือ”ในวรรณกรรมคําสอนจีน “Caigen tan”และวรรณกรรมคําสอนไทย“โคลงโลกนิติ
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 74 - 91
|
|
ศรีสุภางค์ ธนะวัฒน์สัจจะเสรี, สุรีย์ ชุณหเรืองเดช
|
2563
|
การวิเคราะห์คำสอนเรื่องคุณธรรมเพื่อการฝึกขัดเกลาจิตใจและพัฒนาคนในวรรณกรรมคำสอนจีนเรื่อง Caigen Tan
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 1 - 36
|
|
ศศรักษ์ เพชรเชิดชู
|
2560
|
อุปลักษณ์เวลาในสำนวนจีน
|
วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 หน้า 83-100
|
|
ศศิณัฎฐ์ สรรคบุรานุรักษ์
|
2559
|
การประเมินโครงการศึกษาดูงานภาคฤดูร้อนด้านภาษา ศิลปะและวัฒนธรรมจีน ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
|
วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 หน้า 55 - 73
|
|
ศศิณัฎฐ์ สรรคบุรานุรักษ์,วิชยา กรพิพัฒน์,วนิดา ชูเกียรติวัฒนากุล,ภัทรปภา ทองแท่งใหญ่,JIE WEI
|
2563
|
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงด้วยการสอนแบบปรากฏการณ์เป็นฐาน รูปแบบการเรียนรู้จากประเทศฟินแลนด์ ค.ศ. 2001 เวอร์ชั่นจีนแผ่นดินใหญ่ ค.ศ. 2009 และ 2018
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 61-81
|
|
ศศิพร เพชราภิรัชต์
|
2554
|
วัฒนธรรมการกินดื่มของชาวมังกร : ศิลปะบนปลายตะเกียบ
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 24-72
|
|
ศักชัย อุทธิโท
|
2563
|
แสงมิติแห่งจิตวิญญาณและความไม่แน่นอนในการสร้างสรรค์ศิลปะ ปิแอร์ ซูลาจส์ และจูเต๋อฉวิน
|
วารสารศิลป์ พีระศรี
|
|
ศักดา ธนิตกุล
|
2559
|
กฎหมายแข่งขันทางการค้าในประเทศจีน
|
วารสารราชบัณฑิตยสภา ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 หน้า 223-253
|
|
ศักดิ์ชัย โพธิ์สัย, ทรงศรี สรณสถาพร
|
2561
|
กลยุทธ์ในการสื่อสารของนักศึกษาไทยสาขาวิชาเอกภาษาจีน: ความแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 หน้า 94-103
|
|
ศักดิ์พันธ์ คำหริ่ม
|
2553
|
“คนจีนกับหนังสือพิมพ์จีนในเยาวราช” ใน ศิลปวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 หน้า 135-149
|
|
ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2561
|
ภาษาแห่งชาติของไต้หวัน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 16 - 47
|
|
ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2559
|
การรับประโยคโครงสร้าง ba ที่แสดงนัย “การทำให้เคลื่อนที่” ของกลุ่มผู้เรียนชาวไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 219-241
|
|
ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2556
|
ภาพรวมการศึกษาวิจัยประโยค BA
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 7 หน้า 67-105
|
|
ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2556
|
ภาพรวมการศึกษาวิจัยประโยค BA
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 7 หน้า 67 - 105
|
|
ศัลยา เอ้งฉ้วน, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
ปัญหาและแนวทางการแก้ไขการทำงานล่ามประสานงานกีฬา จีน-ไทย และไทย-จีน
|
วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
ศิรสา ชลายนานนท์
|
2559
|
การเปรียบเทียบคำลักษณนามภาษาจีนกับคำลักษณนามภาษาไทยที่ใช้ร่วมกับคำนามใหม่
|
วารสารการแปลและการล่าม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้า 88-122
|
|
ศิริก้อย ชุตาทวีสวัสดิ์
|
2560
|
จิตรกรรมร่วมสมัย: บทบาทและสถานภาพของเพศหญิงในวัฒนธรรมไทย – จีน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 หน้า1277-1293
|
|
ศิรินภา บุุญผ่องศรี, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2565
|
การศึกษาที่มาและบทบาทของขนมเทียนในพิธีกรรมประจำปี ของชาวไทยเชื้อ สายจีน ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
|
|
ศิริพร ศรีสินธุ์อุไร
|
2557
|
อุตสาหกรรมวัฒนธรรมและภาคชนบทจีน: กรณีศึกษาหมู่บ้านกลางน้ำโจวจวง และเมืองโบราณต้าเหยียนลี่เจียง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 33-75
|
|
ศิริเพ็ชร ทฤษณาวดี
|
2563
|
ทฤษฏีการย้ายถิ่นกับชาวจีนอพยพใหม่
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 421-486
|
|
ศิริเพ็ชร ทฤษณาวดี
|
2559
|
สาเหตุความสัมพันธ์ไทยจีนจากความตึงเครียดสู่การผ่อนคลาย ในยุค 1950
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 268-301
|
|
ศิริโรจน์ นามเสนา, พระณัฐกิต มหิสฺสโร (อนุรักษณ์ตระกูล)
|
2563
|
ความยุติธรรมของเปาบุ้นจิ้นในมุมมองเชิงพุทธ
|
วารสารวิชาการ ธรรมทรรศน์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 หน้า 237 - 245
|
|
ศิริลักษณ์ บัตรประโคน
|
2559
|
ลักษณะร่วมและความงดงามของความเป็นหญิง ในพระราชนิพนธ์แปล สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 1-36
|
|
ศิริลักษม์ ตันตยกุล
|
2566
|
กลไกความร่วมมือไทย-จีนเชิงนโยบายเกี่ยวกับชาวจีนโพ้นทะเลรุ่นใหม่ ภายใต้ บริบท BRI
|
วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
ศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม
|
2566
|
การศึกษางานแปลวรรณกรรมคำสอนจีน สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง : กรณีศึกษาการแปลเรื่องนางเคงเกียงสอนบุตร
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 23 ฉบับที่ 3 หน้า 217-241
|
|
ศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม
|
2563
|
การศึกษางานแปลปรัชญานิพนธ์จีน สมัยต้นรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาการแปลสุภาษิตขงจู๊ โดยพระอมรโมลี (จี่)
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 313-333
|
|
ศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม
|
2560
|
ช่องทางการเผยแพร่ปรัชญาและวัฒนธรรมจีนในประเทศไทย : ศึกษาจากงานแปลและผลงานเขียน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 295-339
|
|
ศิริวรรณ วรชัยยุทธ
|
2564
|
พุทธศาสนากับบทบาทสตรีในสังคมพหุวัฒนธรรมสมัยราชวงศ์ถัง
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 298 - 329
|
|
ศิริวรรณ วรชัยยุทธ
|
2561
|
การประชุมวิชาการระดับชาติ จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 4
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 209 หน้า
|
|
ศิริวรรณ วรชัยยุทธ
|
2558
|
ระบบสอบเข้าราชการกับชนชั้นปัญญาชนสมัยราชวงศ์ซ่ง
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม
|
|
ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ
|
2519
|
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศญี่ปุ่นกับสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 1-15
|
|
ศิวพล ละอองสกุล
|
2562
|
จีน-อเมริกา การขับเคี่ยวแห่งศตวรรษและผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย
|
วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 297 - 323
|
|
ศิวพล ละอองสกุล
|
2562
|
จีน-อเมริกา การแข่งขันกันทางอำนาจในศตวรรษที่ 21
|
วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 297-323
|
|
ศิวพล ละอองสกุล
|
2558
|
ยุทธศาสตร์ของจีนต่ออาเซียนตอนบน
|
วารสารรัฐศาสตร์ปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 22
|
|
ศุกันยา ห้วยผัด
|
2559
|
รู้จักจีน: ตลาดทุนและแนวโน้มในอนาคต
|
วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ ปีที่ 26 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 14
|
|
ศุภกร คนคล่อง
|
2563
|
นโยบายขจัดปัญหาความยากจน กับแผนแม่บทสวนสมุนไพรครบวงจรของมณฑลยูนนานสู่แนวปฏิบัติของจังหวัดเชียงราย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 251-275
|
|
ศุภกร คนคล่อง
|
2563
|
การตอบสนองต่อนโยบายหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางของมณฑลชิงไห่ด้วยแผนพัฒนาอุตสาหกรรมวัฒนธรรมบนเส้นทางสายไหม
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 228 - 258
|
|
ศุภกร คนคล่อง
|
2562
|
"นครอู่ฮั่น" หัวเรือแห่งยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาคจีนตอนกลางกับความเชื่อมโยงภายใต้นโยบาย "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 152-175
|
|
ศุภชัย แจ้งใจ
|
2556
|
การจัดการศึกษาร่วมระหว่างคณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์กับองค์กรการศึกษาในประเทศจีนและปัญหาการพัฒนาทักษะภาษาจีนของผู้เรียนสาขาวิเทศธุรกิจจีนและสาขาจีนศึกษา
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 203-216
|
|
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล
|
2531
|
การควบคุมชาวจีนในสมัยรัตนโกสินทร์ก่อนการปฏิรูปการปกครอง (พ.ศ.2325-2435)
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 หน้า 63-90
|
|
ศุภรัตน์ เลิศพาณิชย์กุล
|
2528
|
สมาคมลับอั้งยี่ในประเทศไทย พ.ศ. 2367-2453
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 หน้า 70-83 ถึง ปีที่ 6 ฉบับที่ 5 หน้า 104-113
|
|
ศุภิสรา พรหมบังเกิด
|
2566
|
อำนาจละมุนของจีน บทบาทของสถาบันขงจื่อ ในประเทศไทย ระหว่างปี ค.ศ. 2017 – 2023
|
วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษาบรมราชกุมารีและศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์2558 ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 304 หน้า
|
2558
|
แต้จิ๋ว: จากมาตุภูมิสู่โพ้นทะเล
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 304 หน้า
|
|
ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษาฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สมาคมเผยแผ่คุณธรรม "เต็กก่า" จีจินเกาะ
|
2560
|
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ "ศาสนาและวัฒนธรรมความเชื่อของชาวจีนโพ้นทะเล"
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 131 หน้า
|
|
สมเกียรติ อ่อนวิมล
|
2517
|
เอกสารลับจากสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 หน้า 66-76
|
|
สมชัย เจริญวรเกียรติ, นรินทร์ สังข์รักษา
|
2559
|
ฮวงจุ้ย : ความเชื่อ ความรู้ และอำนาจในการจัดการ และการสร้างพื้นที่ทางสังคม
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 1720-1733
|
|
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์, จุฬาภรณ์ ขอบใจกลาง, หลี่ เหรินเหลียง
|
2559
|
ความสัมพันธ์เศรษฐกิจไทย-จีน ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจโลก
|
วารสารพัฒนาสังคม JSD สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้า 127-154
|
|
สมบัติ บุญคำเยือง
|
2561
|
ความสัมพันธ์ระหว่างชาวนาจีนและพรรคคอมมิวนิสต์จีนในช่วงทศวรรษ 1920
|
วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 115-125
|
|
สมบัติ บุญคำเยือง
|
2560
|
การปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมชนบทของประเทศจีนในทศวรรษ 1980
|
วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 หน้า 217-236
|
|
สมบัติ พานน้อย
|
2522/2525
|
"คนจีนครั้งสร้างกรุง" โดย ส. พลายน้อย
|
เมืองโบราณ ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 หน้า 99-108 / วารสารวัฒนธรรมไทย ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 หน้า 35-40
|
|
สมเพลิน เกษมรัตนสันติ
|
2525
|
การเปลี่ยนแปลงของครอบครัวจีน
|
วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 101-116
|
|
สมลักษณ์ สังสัมพันธ์
|
2527
|
บทบาทของจีนในการรักษาสันติภาพและความมั่นคง ในคาบสมุทรเกาหลี
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 หน้า 53-69
|
|
สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย
|
2556
|
ประสบการณ์การปฏิรูปทางเศรษฐกิจของจีนและบทเรียน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 หน้า 1 ถึง 43
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2565
|
ความสัมพันธ์ระหว่างตำราต้าเสฺวียกับตำราจงยง
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2563
|
พัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงในการนำเสนอวัฒนธรรมความเป็นจีนผ่านแบบเรียนภาษาจีนสำหรับผู้เรียนชาวต่างชาติ
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 68 - 96
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2561
|
หลักความสัมพันธ์ห้าประการและหลักบรรทัดฐานสาม มุมมองของหลักจริยธรรมกับการรักษาเสถียรภาพของสังคมจีน
|
วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 247-261
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2561
|
ความชอบธรรมและการล้มล้างทรราช : มุมมองของลัทธิขงจื่อในประวัติศาสตร์จีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 48 ฉบับที่ 2 หน้า 157-180
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2560
|
ปัญญาชนจีนยุคโบราณกับการรับราชการ
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 31-55
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2559
|
การขัดเกลาตนเองเป็น "วิญญูชน" ตามแนวทางของตำราทั้งสี่
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 10 หน้า 155 - 185
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2556
|
จากวาทกรรม "การสืบทอดสายตรงแห่งมรรควิธี " (??) สู่หลี่เสวีย (??) และตำราทั้งสี่????
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 7 หน้า 149-171
|
|
สยุมพร ฉันทสิทธิพร
|
2556
|
จากวาทกรรม "การสืบทอดสายตรงแห่งมรรควิธี" สู่หลี่เสฺวีย และตำราทั้งสี่
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 7 หน้า 149 - 171
|
|
สรชัย ศรีนิศานต์สกุล
|
2558
|
บทวิเคราะห์ธรรมาภิบาลตามแนวคิดปรัชญาเต๋า
|
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 133-167
|
|
สรรเพชญ ภุมรินทร์, อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์
|
2560
|
การวิเคราะห์แบ่งกลุ่มนักท่องเที่ยวจีนตามพฤติกรรมการท่องเที่ยวในประเทศไทย
|
วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 99-132
|
|
สวรส กัญภัคขจร, กันตพัฒน์ พรศิริวัชรสิน
|
2563
|
ผลกระทบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อธุรกิจสิ่งทอของผู้ประกอบการคนไทยเชื้อสายจีน กรณีศึกษา ตลาดโบ๊เบ๊
|
วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 1 - 11
|
|
สันติ อ้ายเจริญ
|
2560
|
กระบวนการสร้างคำประสมในภาษาไทย-จีน บนพื้นฐานแนวคิดของ Jerome L. Packard
|
วารสารบัณฑิตวิจัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 119-128
|
|
สาธิยา เขื่อนคำ
|
2562
|
ผู้ค้าจีนรุ่นใหม่กับการขยายอิทธิพลทางการค้าอีคอมเมิร์ซ : กรณีผู้ค้าจีนรายย่อยในจังหวัดเชียงใหม่
|
วารสารพัฒนาสังคม JSD สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 หน้า 119-139
|
|
สานิต ศิริวิศิษฐ์กุล, เฉลิมชัย วิโรจน์วรรณ
|
2557
|
การธำรงอัตลักษณ์ของชาวจีนเจนเนอเรชั่นวายในย่านไชน่าทาวน์เยาวราช
|
วารสารหาดใหญ่วิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 175-182
|
|
สารสิน วีระผล
|
2518
|
ปัญหาไต้หวันกับสัมพันธภาพระหว่างไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 1-18
|
|
สารสิน วีระผล
|
2518
|
การปกครองนครปักกิ่ง
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 90-94
|
|
สารสิน วีระผล
|
2518
|
ปัญหา 'กองพลที่ 93'
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 หน้า 19-29
|
|
สารสิน วีระผล และเขียน ธีระวิทย์
|
2518
|
อุตสาหกรรมน้ำมันของจีน : พลังส่งเสริมการทูต
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 62-77
|
|
สารสิน วีระผล
|
2519
|
ความหมายของการขับไล่ เติ้งเสี่ยวผิง ออกจากตำแหน่ง
|
จุลสารเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน เล่มที่ 59 หน้า 1-61
|
|
สารสิน วีระผล
|
2518
|
การปฏิวัติทางการศึกษาในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 42-64
|
|
สําราญ ผลดี
|
2566
|
นัยและภาพสะท้อนทางการเมืองจากความสัมพันธ์ในระบบบรรณาการระหว่างสยามและจีนในสมัยสมเด็จพระนเรศวร
|
"วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ" "ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 245-261"
|
|
สำราญ ผลดี
|
2567
|
“จีนตั้วเหี่ย” ภาพสะท้อนบทบาทและอิทธิพลของชาวจีนโพ้นทะเล ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ (รัชกาลที่ 3-4)
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 หน้า 231-246
|
|
สำราญ ผลดี
|
2557
|
จีน-สยาม : ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์สมัยธนบุรีในเอกสารจดหมายเหตุจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 16 หน้า 143-150
|
|
สำราญ ผลดี, สารสิน วีรผล
|
2557
|
จิ้มก้องและกำไร : การค้าไทย – จีน 2195 – 2396
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังตมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบูรี ปีที่ 8 ฉบับที่ 15 หน้า 127 - 130
|
|
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์
|
2566
|
บทพินิจประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาว่าด้วยกําเนิดแนวคิดความเป็นพลเมืองจีน: กรณีศึกษาเหลียงฉี่เชา An Intellectual Review of the Origin of Chinese Citizenship: A Case Study of Liang Qichao
|
วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 49-70
|
|
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์
|
2563
|
การสร้างความรู้ความสัมพันธ์ไทย - จีน และการประยุกต์ใช้แนวพินิจพรมแดนกับการศึกษาความสัมพันธ์ไทย - จีนผ่านการส่องสำรวจชีวิต เจียแยนจอง
|
วารสารไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 1-49
|
|
สิทธิเทพ เอกสิทธิพงษ์
|
2562
|
การทูตวิชาการ และความ(ไม่)รู้ ในความสัมพันธ์ไทย-จีน
|
วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 198-253
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2562
|
ความสัมพันธ์ไทย-จีนในยามยาก
|
วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 166-197
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2562
|
มรดกของเจิ้งเหอ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
วารสารสหวิทยาการ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 8 - 24
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2561
|
มรณกรรมของหลินเปียวเมื่อ ค.ศ. 1971: จุดจบของผู้นำที่ทะเยอทะยานหรือเหยื่อของการปฏิวัติวัฒนธรรม?
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้า 152-171
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2560
|
ความขัดแย้งระหว่างจีนกับยูโกสลาเวียในสามบริบท : สหภาพโซเวียต กลุ่มประเทศในแอฟริกาและเอเชีย และการปฏิวัติอย่างต่อเนื่องของเหมาเจ๋อตง
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 1-18
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2557
|
ริมฝีปากกับฟัน: ความสัมพันธ์จีน-เกาหลีเหนือในยุคสงครามเย็น (ค.ศ. 1949 – 1992)
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 41-78
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2556
|
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับอาณาจักรเหลียว ซีเซี่ย และจิน: ภาพสะท้อนความยืดหยุ่นทางการทูตสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960-1279)
|
วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 1-20
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2556
|
หลิวเส้าฉี: การต่อสู้สองแนวทางและการปฏิวัติวัฒนธรรม
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 58 - 75
|
|
สิทธิพล เครือรัฐติกาล
|
2555
|
ภาพลักษณ์ของเจิ้งเหอในประวัติศาสตร์จีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 33-48
|
|
สิริวรรณ แซ่โง้ว
|
2566
|
การเปลี่ยนหัวเรื่องในภาษาแต้จิ๋ว
|
วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
|
|
สิริวรรณ แซ่โง้ว
|
2561
|
พัฒนาการของวิกตรรถกริยาและหน่วยสร้างวิกตรรถกริยา ? ในภาษาจีน
|
วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 หน้า 149-176
|
|
สิริวรรณ แซ่โง้ว
|
2561
|
การกลายเป็นคำไวยากรณ์ของ ? e5 ในภาษาฮกเกี้ยนไต้หวัน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากรปีที่ 11 ฉบับที่ 3 หน้า 115-140
|
|
สิรีธร ถาวรวงศา
|
2563
|
การปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ทางสังคม ของชาวจีนฮกจิว อำเภอนาบอน จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2468 - ปัจจุบัน
|
วารสารไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 81-108
|
|
สีว์เชี่ยนเชี่ยน และ สรัสวดี อ๋องสกุล
|
2567
|
พ่อค้าจีนฮ่อในการค้าบนเส้นทางสายไหมตอนใต้ระหว่างล้านนาและยูนนานช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 14-16
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 118 - 131
|
|
สืบพงศ์ ช้างบุญชู
|
2563
|
ภาพตัวแทนประเทศไทยในพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์จีน: การวิเคราะห์เนื้อหาและการใช้ภาษา
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 49 ฉบับที่ 2 หน้า 98 - 113
|
|
สืบแสง พรหมบุญ
|
2521
|
ความสัมพันธ์ระหว่างสุโขทัยกับจีนในสมัยราชวงศ์มองโกล
|
จุลสารสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 31-49
|
|
สืบแสง พรหมบุญ
|
2522
|
สงครามจีน-เวียดนาม
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 24-36
|
|
สืบแสง พรหมบุญ
|
2517
|
ไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีนวิเคราะห์แนวนโยบายต่างประเทศ
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 หน้า 1-17
|
|
สุขุมาลย์ คูหาคติภพ
|
2566
|
การทำแฟนซับภาษาไทย: กรณีศึกษาละครชุดเรื่อง “มหาศึกชิงบัลลังก์” (ปี 6)
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
|
สุคนธ์ อรุณล้ำเลิศ
|
2527
|
บทแนะนำวรรณกรรมจีนยุคใหม่ 'ระหว่างมนุษย์กับปีศาจ' ของหลิวปิงเย่น
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 68-70
|
|
สุชาดา ตันตสุรฤกษ์
|
2529/2530
|
โพยก๊วน การสะสมทุนของสถาบันการเงิน
|
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง ปีที่ 6 ฉบับที่ 1-2 หน้า 23-50
|
|
สุชาติ วัฒกานนท์
|
2557
|
นักธุรกิจต่างชาติควรรู้รากเหง้าปรัชญาจีนก่อนทำการค้ากับคนจีน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 8
|
|
สุชาติ สวัสดิ์ศรี (ผู้แปล)
|
2514
|
ชีวิตกามารมณ์หลังม่านไม้ไผ่
|
สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 5 หน้า 62-64
|
|
สุชาทิพย์ อัมพรดนัย
|
2550
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำ "le" ในภาษาจีนกลางกับคำ "แล้ว" ในภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 1 หน้า 40-99
|
|
สุณี เนียมคำ
|
2559
|
สหบทในบทละครจีน ซีเซียงจี้ แห่งราชวงศ์หยวน
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 10 หน้า 135 - 154
|
|
สุด แสงวิเชียร
|
2525
|
เปรียบเทียบวัฒนธรรมบางวัฒนธรรมของจีนกับของไทย
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 1-8
|
|
สุดาวดี ถาวงษ์กลาง
|
2558
|
การเปรียบเทียบคุณสมบัติทางวากยสัมพันธ์ของคำกริยาแสดงทัศนภาวะ “??????”ในภาษาจีนกับคำว่า “ได้”ในภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1หน้า 101-152
|
|
สุทธิพร บุญมาก
|
2563
|
นโยบายการย้ายถิ่นระหว่างประเทศของแรงงานต่างชาติ: กรณีศึกษาการ เข้าเมืองและว่าจ้างงานของไต้หวันInternational
|
วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
|
|
สุเทพ โซวเจริญ, บุญเลิศ ยองเพ็ชร
|
2559
|
วัดเทพพุทธาราม: ภาพสะท้อน วิถีชีวิต ความเชื่อของคนไทยเชื้อสายจีน จังหวัดชลบุรี
|
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 24 ฉบับที่ 45 หน้า 91 - 101
|
|
สุธาสินี สายวดี, ปีติชา อะมริต, ศลิษา เจริญสุข
|
2562
|
การศึกษางานวิจัยในประเทศจีนเกี่ยวกับการใช้ยาสมุนไพรจีนในการรักษาซีสต์เต้านม
|
วารสาร มฉก.วิชาการ ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 หน้า 120-131
|
|
สุธิดา ตันเลิศ, อนันทธนา เมธนนนท์, ณัฐพัชร์ เตชะรุ่งไพศาล
|
2559
|
ประวัติชาวจีนเมืองอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ. 2411-2488
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 164-191
|
|
สุธิมา โพธิ์เงิน
|
2553
|
จาก เฟิงเฉินเหยี่ยนอี้ สู่ ห้องสิน : การศึกษาวิเคราะห์การแปลวรรณกรรมจีน
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 4 หน้า 224-241
|
|
สุนทร สุขสราญจิต
|
2558
|
100 ปี คนจีนในพะเยา: พลวัตทางการเมืองและสังคม
|
วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 99 - 135
|
|
สุนีย์ ลีลาพรพินิจ
|
2566
|
โลกทัศน์ของนักเขียนและภาพสะท้อนสังคมจีนในเรื่องสั้น “ความเหงาและความอบอุ่น”《寂寞和温暖》ของวังเจิงฉี (汪曾祺)
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
สุนีย์ ลีลาพรพินิจ
|
2559
|
การศึกษาเปรียบเทียบระบบเสียงในภาษาไทยกับภาษาจีน เพื่อประโยชน์ในการสอนภาษาไทยระดับพื้นฐานในฐานะภาษาต่างประเทศ
|
วารสารสุทธิปริทัศน์ ปีที่ 30 ฉบับที่ 93 หน้า 33-46
|
|
สุนีย์ ลีลาพรพินิจ
|
2551
|
"ยี่จับสี่ห่าว" ภาพสะท้อนความกตัญญูในปรัชญาขงจื๊อ
|
วรรณวิทัศน์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับช่อความคิด หน้า 58-88
|
|
สุพรรษา โต๊ะดอนทอง, จิราพร เนตรสมบัติผล
|
2562
|
กลวิธีการแปลชื่อสถานที่ท่องเที่ยวภาษาไทยในภาษาจีน: กรณีศึกษาหนังสือ ??????Guide To Thailand
|
วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 342-358
|
|
สุพลธัช เตชะบูรณะ
|
2561
|
ลอดลายมังกร: การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ธุรกิจไทย ในทศวรรษ 2490-2520
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 หน้า 172 - 195
|
|
สุพัตรา ห.เพียรเจริญ
|
2558
|
การศึกษาเรื่องความแพร่หลายภาษาถิ่นของจีนในประเทศไทยและ การใช้ประโยชน์จากภาษาถิ่นของจีนในการแปลวรรณกรรมภาษาจีน เป็นภาษาไทย:ศึกษาตัวอย่างจากเรื่องสั้นของหลู่ซุ่นฉบับภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 153-170
|
|
สุพิชฌาย์ ถกลประจักษ์, กนกพร นุ่มทอง
|
2560
|
การสำรวจและรวบรวมองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมจีนที่เกี่ยวกับศาลเจ้าจีนในประเทศไทยผ่านฐานข้อมูลของไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 87-125
|
|
สุพิชฌาย์ ทวีธนวิริยา, สุกัญญา วศินานนท์, Jiaxiang Liu
|
2559
|
กลยุทธ์พิชิตการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีนแบบใหม่ ระดับ 4
|
วารสารวิจัย มทร.กรุงเทพ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 123-135
|
|
สุพิชญา ชัยโชติรานันท์
|
2566
|
การศึกษาการแปลบทขยายกริยาประเภทบุพบทวลีกลุ่มแสดงเป้าหมายรับกิริยาอาการ“dui” และ “duiyu” จากภาษาจีนเป็นภาษาไทย A Study of Chinese-Thai Translation of Preposition Phrases with Recipients to Modify Verb Groups “dui” And “duiyu”
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 หน้าที่ 333-351
|
|
สุพิชญา ชัยโชติรานันท์
|
2558
|
การศึกษาข้อผิดพลาดการแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนธุรกิจ ในมิติด้านไวยากรณ์
|
วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 116 - 126
|
|
สุภชา ศรีรัตนบัลล์
|
2566
|
การศึกษาโลกทัศน์ของชาวจีนโพ้นทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จากเรื่องเล่าพื้นบ้าน A Study of Worldview of Overseas Chinese in Southeast Asia Through Folk Narratives
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 154-185
|
|
สุภชา ศรีรัตนบัลล์
|
2562
|
การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับนิทานพื้นบ้านไทยในประเทศจีน
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 39 ฉบับที่ 6 หน้า 143-174
|
|
สุภัชญา สวัสดิ์โยธิน
|
2562
|
สำนวนไทยและสำนวนจีนที่มีคำว่า “งู”
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 100-125
|
|
สุภัชญา สวัสดิ์โยธิน
|
2562
|
ประสิทธิผลและความคงทนในการเรียนรู้ ประโยคเพื่อการสื่อสารภาษาจีนด้วยการใช้เพลง และการสอนแบบปกติ
|
วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 หน้า 270-281
|
|
สุภัทรา โยธินศิริกุล
|
2563
|
ภาษาบนป้ายชื่อร้านค้าชาวไทยเชื้อสายจีนในเขตชุมชนเยาวราช : กรณีศึกษาชื่อร้านค้าภาษาจีนและภาษาไทย
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 55-74
|
|
สุภัทรา โยธินศิริกุล
|
2561
|
การศึกษาชื่อร้านทองคำภาษาจีนของชาวไทยเชื้อสายจีนในกรุงเทพมหานคร
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 202-230
|
|
สุภัทรา โยธินศิริกุล
|
2561
|
สิริมงคลจีนกับความเชื่อตามศาสตร์ฮวงจุ้ยของชาวไทยเชื้อสายจีนในชุมชนเยาวราช
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 38 ฉบับที่ 5 หน้า 119-143
|
|
สุภาพร คชารัตน์
|
2562
|
บทบาทของคนจีนในการพัฒนาลุ่มน้ำท่าจีน
|
วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 หน้า 1 - 25
|
|
สุภาภรณ์ จินดามณีโรจน์
|
2555
|
ย่านตลิ่งชัน : ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ และการเปลี่ยนแปลง
|
ดำรงวิชาการ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 190 - 219
|
|
สุภาภรณ์ แซ่ลิ้ม, ชัยรัตน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง
|
2560
|
การดำรงอยู่ การปรับตัว และการสืบทอดของศาลเจ้าจีนกวนอิมปุดจ้อ ในบ้านควนงาช้าง ตำบลบางดี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
|
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 15 - 30
|
|
สุภาวดี คุ้มราษฎร์, มธุรพจน์ ศรีโพนทอง, ศิริวุฒิ รุ่งเรือง
|
2566
|
โอกาสของผลไม้ไทยในตลาด สาธารณรัฐประชาชนจีนและการเตรียมความพร้อม ด้านการส่งออกและพิธีการศุลกากร
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
สุภาวดี เชื้อพราหมณ์, จิตติมา พีระพัฒน์
|
2565
|
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำรงอยู่ของตึกแถวเก่าในย่านชุมชนชาวจีน ถนนราชดำเนิน จังหวัดนครศรีธรรมราช
|
วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
|
|
สุมิตร ปิติพัฒน์
|
2525
|
การเปลี่ยนแปลงครอบครัวจีนในประเทศไทย
|
วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 117-131
|
|
สุมิตร ปิติพัฒน์
|
2526
|
คนไทยในสิบสองปันนา
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 123-137
|
|
สุรกฤตย์ ใจบุญ, ธีรวัฒน์ ธีรพจนี
|
2561
|
ข้อถกเถียงในงานวิชาการเรื่องประธานของประโยคแสดงถึงการดำรงอยู่ในภาษาจีนกลาง
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 48 - 66
|
|
สุรชัย ศิริไกร
|
2519
|
วิเคราะห์การดำเนินนโยบายต่างประเทศของจีน : ยุทธวิธีแนวร่วมมวลชนในการเมืองระหว่างประเทศ
|
รัฐศาสตร์สาร ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 หน้า 32-49
|
|
สุรพล สุวรรณ, ธีรชัย ลี้สุรพลานนท์
|
2551
|
วิถีชีวิต วัฒนธรรม ในบริบทสังคมเมืองกับชนบท เมืองคุณหมิง
|
วารสารวิชาการคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 หน้า 67 - 77
|
|
สุรสิทธ์ อมรวณิชศักดิ์ อรวรรณ นักปราชญ์
|
2565
|
การประชุมวิชาการระดับชาติ จีนศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 6
|
ศูนย์การเรียนรู้จีนศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ / 213 หน้า
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2565
|
ว่าด้วย “การคืนชีพ” ของตัวละครในวรรณกรรมไซอิ๋วฉบับอู๋เฉิงเอิน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2563
|
ตำนานของเจิ้งเหอในสังคมอยุธยาจากหนังสือตงซีหยังเข่า
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 334-396
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2563
|
รูปเคารพเจิ้งเหอในสังคมไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 21 - 52
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2562
|
เซิ่งหมิงลี่ : กปิตันจีนในมาเลเซียที่กลายเป็นเทพเจ้า
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 21-49
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2561
|
เจ้าหญิงเหวินเฉิงกับอาณาจักรถู่ปัว
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 หน้า 13-43
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2559
|
เจ้าพ่อเขาตก: เทพารักษ์ไทยที่กลายเป็นเทพเจ้าจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 1-21
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2559
|
หานอี้ว์ : "เจ้าเมือง" "เจ้าพ่อ" "เจ้าที่"
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 49
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2559
|
พิธีกงเต๊กในราชสำนักไทย : คติว่าด้วยความกตัญญู
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 44
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2558
|
จารึกอักษรจีนบนระฆังของศาสนสถานจีนในไทย : บันทึกหน้าหนึ่ง ทางประวัติศาสตร์
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 1 ถึง 35
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2557
|
“เทพเจ้า ‘ปุนเถ้ากง’ ลำปาง กับตำแหน่ง ‘ฮู่กั๋วโหวหวัง’ ”
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 หน้า 60-66
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2556
|
การสำรวจองค์ความรู้ด้านไทยศึกษาในฐานข้อมูล CNKI ของ จีน: กรณีศึกษาวิทยานิพนธ์ระดับมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 6 หน้า 277-302
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2556
|
ปุนเถ้ากง : เทพ "เจ้าที่"จีนในสังคมไทย
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 1 หน้า 35-57
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2555
|
เกาะสมุย: แดน “หอยใหญ่” ของชาวไหหลำ
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 33 ฉบับที่ 4 หน้า 26-30
|
|
สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์
|
2554
|
ไซอิ๋วในวัดไทย : กรณีศึกษาภาพปูนปั้นที่วัดบวรนิเวศวิหารและภาพเขียนสีที่วัดราชโอรสาราม
|
หนังสือรวมบทความวิชาการ สัมมนาจีนศึกษา "พลวัฒแห่งภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม" หน้า 125-147
|
|
สุรางค์ศรี ตันเสียงสม
|
2550
|
เพื่อนจีนในบ้านไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 1 หน้า 196-216
|
|
สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์
|
2530
|
เทศกาลร้องเพลงของชาวจ้วงที่อู่หมิง
|
เมืองโบราณ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 หน้า 91-99
|
|
สุวรรณา คุณดิลกณัฐวสา
|
2561
|
พลังศรัทธาความเชื่อประเพณีแห่จ้าวพ่อจ้าวแม่ปากน้ำโพ : คณะมังกรทองจ้าวพ่อจ้าวแม่ปากน้ำโพ
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย ปีที่ 12ฉบับที่ 1 หน้า 82 - 98
|
|
สุวรรณา ตั้งทีฆะรักษ์
|
2559
|
นารีนครา: เมืองนี้เป็นของเธอ
|
วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 หน้า 255-266
|
|
สุวรรณา ตั้งทีฆะรักษ์
|
2557
|
การศึกษาเปรียบเทียบความหมายของชื่อร้านค้าที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับ สิริมงคลของคนไทยและคนจีน
|
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 45 - 57
|
|
สุวรรณา วงศ์ไวศยวรรณ
|
2527
|
บทวิพากษ์ความเป็นโลกุตตรธรรมแห่งคัมภีร์ 'เต๋าเต๋อจิง'
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 หน้า 108-122
|
|
สุวรรณา วงศ์ไวศยวรรณ
|
2527
|
สองมนุษยทัศน์ในปรัชญาจีน : ขงจื๊อและเหลาจื๊อ
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 146-159
|
|
สุวรรณี ดาวสดใส
|
2527
|
การศึกษาปรัชญาในจิตรกรรมจีนสมัยราชวงศ์สุ้ง
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 หน้า 26-36
|
|
สุวิทย์ ธีรศาศวัต
|
2526
|
ทำไม? คนไทยจึงค้าขายสู้คนจีนไม่ได้ : วิเคราะห์จากหลักฐานสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 22-33
|
|
สุวินัย ภรณวลัย
|
2526
|
ความอับจนของลัทธิเหมาหรือความอับจนของลัทธิมาร์กซ์ : บทวิเคราะห์โดยสังเขปของการปฏิวัติจีน ลัทธิเหมาและเศรษฐกิจจีนหลังการปฏิวัติจนถึงปัจจุบัน
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้า 22-33
|
|
สุวิมล นกกลาง
|
2559
|
ทักษะการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน (พินอิน) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การเกม
|
สิกขา วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 หน้า 43-50
|
|
เสนอ นิลเดช
|
2529
|
อิทธิพลศิลปะจีนในประเทศไทย
|
วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาคต้นประจำปีการศึกษา 2529 หน้า 29-36
|
|
เสมอชัย พูลสุวรรณ
|
2562
|
ความเป็นไปในรอบเจ็ดศตวรรษของตระกูลชาวไตแห่งแคว้นต้าหลี่ มณฑลยูนนาน : ข้อมูลจากจารึกโบราณและสมุดบันทึกบรรพประวัติวงศ์ตระกูล "อา"
|
วารสารหน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม ปีที่ 34 ฉบับที่ 2 หน้า B-1 ถึง B-38
|
|
เสรี พงศ์พิศ
|
2523
|
ศาสนากับจีนในปัจจุบัน
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 หน้า 67-81
|
|
เสวียจื้อ หลี่, กนกพร นุ่มทอง, จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์
|
2566
|
การศึกษาการแพร่กระจายเรื่องเปาบุ้นจิ้นโดยวิธีมุขปาฐะในประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
|
เสี่ยวซิน เสอ, ชนิกานต์ รัตนชัยไพศาลกุล, สุจรรยา ธิมาทาน, สุปภาดา อินทรบงกต, เจียวเยว่ เจ้า
|
2563
|
การพัฒนาชุดการเรียนรู้ภาษาจีนสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ในโรงเรียนขนาดเล็ก โดยบูรณาการข้อมูลท้องถิ่นของจังหวัดฉะเชิงเทรา: กรณีศึกษาโรงเรียนวัดหัวไทร
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 14 หน้า 107 - 136
|
|
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย
|
2540
|
การสำรวจเบื้องต้นศาลเจ้าจีนในย่านตลาดปากน้ำ จังหวัดสมุทรปราการ
|
วารสารมฉก. วิชาการ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า หน้า 1-8
|
|
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย, ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์
|
2562
|
เทศกาลตรุษจีนเยาวราช : ภูมิหลังและพัฒนาการ
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 35-44
|
|
แสงอรุณ กนกพงศ์ชัย, ฤทธิชัย เตชะมหัทธนันท์
|
2562
|
เทศกาลตรุษจีนเยาวราช : ภูมิหลังและพัฒนาการ
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 35-44
|
|
แสน กีรตินวนันท์
|
2559
|
ปัจจัยการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนชาวจีน
|
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 หน้า 369-384
|
|
หงษ์ฟ้า ทรัพย์บุญเรือง, จินตวัฒน์ ศิริรัตน์
|
2563
|
โครงการรถไฟความเร็วสูงไทย - จีน: โอกาสของการพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
|
วารสารไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 50-80
|
|
หทัย แซ่เจี่ย
|
2559
|
การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบการจัดการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยระดับประถมศึกษา
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 10 หน้า 186 - 211
|
|
หทัยทิพย์ ยอดเกตุ, ฐนน พูนทรัพย์ไพศาล
|
2560
|
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้กิจกรรมบูรณาการตามทฤษฎีพหุปัญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเทศบาล ๑ ศรีเกิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 11 หน้า 218 - 238
|
|
หยาง จิ้น, ธนพร หมูคำ
|
2561
|
การประกอบสร้างความเป็นสตรีในวรรณกรรมพื้นบ้านชาวหุย สาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 35-54
|
|
หยิ่ง หลี่, ศรีวิไล พลมณี, ขวัญใจ กิจชาลารัตน์
|
2563
|
การศึกษาความสุภาพในการสื่อสารระหว่างภาษาไทยกับภาษาจีน
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 หน้า 37-46
|
|
หลิน ฉายจวิน, นิสรีน หวังตักวาดีน
|
2563
|
การวิจัยเชิงประจักษ์โครงสร้างและปัจจัยที่มีอิทธิพลของระบบคำภาษาจีนในคลังคำในใจในฐานะภาษาที่สองของนักศึกษาไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 หน้า 172 - 203
|
|
หลี่ ชุน
|
2560
|
การดำเนินคดีปกครอง ในศาลประชาชนจีน : เงื่อนไขการฟ้องคดีปกครอง
|
วารสารนิติศาสตร์ ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 หน้า 573-587
|
|
หลี่ ลี่
|
2549
|
พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของคำศัพท์ภาษาจีน กรณีคำหลายพยางค์จากอรรถาธิบาย "กว๋อหุยวี่" ของเหวยเจา
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 41 - 54
|
|
หลี่ เสียนจั๋ว, หลิว หงฟาน
|
2560
|
การศึกษาอิทธิพลของเงื่อนไขเวลาในประโยคภาษาจีนปัจจุบัน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 257-274
|
|
หลี่ เหรินเหลียง
|
2565
|
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการพัฒนาการลงทุนของจีนในไทยอย่างยั่งยืน
|
วารสารธุรกิจปริทัศน์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
หลี่ เหรินเหลียง
|
2558
|
การพัฒนาที่ยั่งยืน ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของจีน
|
วารสารพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้า 153-160
|
|
หลี่ เหรินเหลียง
|
2557
|
การพัฒนาสังคมจีนด้วยความคิดสร้างสรรค์ ท่ามกลางการปฏิรูปเชิงลึกและเชิงกว้าง: การคาดการณ์และวิเคราะห์สังคมจีนในปี พ.ศ.2556-2557
|
วารสารพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 หน้า 89-102
|
|
หลี่ เหรินเหลียง
|
2556
|
นโยบายว่าด้วยความมั่นคงด้านอาหารของสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 101-112
|
|
หลี่ เหรินเหลียง
|
2549
|
อนาคตแห่งการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างจีน-ไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 หน้า 237-248
|
|
หลี่ เหรินเหลียง, ฑิตยา สุวรรณะชฎ
|
2559
|
ความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจกับการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนจากประสบการณ์จีน
|
วารสารพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับพิเศษ หน้า 19-34
|
|
หลี่ เหรินเหลียง, สุพรรณี ไชยอำพร
|
2561
|
การศึกษาเปรียบเทียบนโยบายพัฒนาการศึกษาระหว่างไทยและจีน
|
วารสารพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 145-156
|
|
หลี่ลี่เจีย
|
2567
|
การศึกษาการใช้โครงสร้างคํากริยาบอกทิศทาง “V+D来”ของผู้เรียนภาษาจีนระดับกลางและสูงในประเทศไทย
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 132 - 150
|
|
หวัง เทียนซง
|
2561
|
วิจัยเกี่ยวกับการสอนการออกเสียงภาษาจีนสำหรับนักเรียนชาวไทย
|
วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 253-261
|
|
หวางเหวินผิง
|
2530
|
" (สัมภาษณ์) หวาง เหวิน ผิง กับวรรณกรรมไทย" โดย ยุรฉัตร บุญสนิท
|
อักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 หน้า 93-104
|
|
หวางเหวินเหลียง แปลโดย วารุณี
|
2531
|
เจิ้งเหอ ล่องทะเลตะวันตก พฤติกรรมอันยิ่งใหญ่ในประวัติศาสตร์การเดินเรือทางทะเล
|
ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 9 ฉบับที่ 4 หน้า 50-56
|
|
หาญ ซี
|
2551
|
เปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับการเกิดและการตายของจีนและไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 2 หน้า 217-229
|
|
หาญชัย ชัยทัศนีย์
|
2558
|
การศึกษาเซียมซีศาลหลักเมืองจังหวัดสิงห์บุรี
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 "ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม"
|
|
เหนือขวัญ บัวเผื่อน
|
2558
|
การสร้างหลักสูตรฝึกอบรมภาษาจีนสำหรับมัคคุเทศก์น้อยในโรงเรียนชุมชนวัดพระธาตุลำปางหลวง อ.เกาะคา จ.ลำปาง
|
การประชุมทางวิชาการจีนศึกษา ครั้งที่ 2 "ไข่มุกหล่นบนจานหยก จีนศึกษา ภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรม"
|
|
เหมือนฝัน คงสมแสวง
|
2561
|
การต่อรองความหมายและการบริโภคสัญญะปีชงในสังคมไทย
|
วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 หน้า 199-222
|
|
เหยา ซือฉี
|
2566
|
การสร้างภาพตัวแทนประเทศจีนกับอุปลักษณ์เชิงวิพากษ์ : กรณีศึกษาวาทกรรม ข่าว “โชคชะตาร่วมกันสำหรับมนุษยชาติ” ในหนังสือพิมพ์จีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
เหยา ซือฉี
|
2566
|
"ทัศนคติเชิงนิเวศของประเทศจีนในยุคใหม่กับรากฐานแห่งปรัชญาเต๋า:กรณีศึกษาสมุดปกขาว “การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศจีน” Chinese Ecological Attitudes in the Modern Era and Foundations of Taoist Philosophy: "
|
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 52 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 146 - 163
|
|
เหยา ซือฉี
|
2565
|
ชนิดกระบวนการกับการสื่ออุดมการณ์ในช่วงวิกฤตการณ์โรคระบาดโควิด-19 : การ วิเคราะห์สุนทรพจน์เกี่ยวกับแนวคิด “สุขอนามัยร่วมกันสำหรับมนุษยชาติ” ของ ประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง
|
วารสารธรรมศาสตร์ กองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
|
|
เหยียน หน่อหล้า
|
2555
|
คำยืมภาษาจีนในภาษาไทลื้อสิบสองปันนาปัจจุบัน
|
พิฆเนศวร์สาร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 43-50
|
|
อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช
|
2565
|
แนวคิดการจัดวางประติมากรรมเหวยถัว ในวัดมหายานจีนนิกายและอนัมนิกาย กรุงเทพฯ
|
วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช
|
2558
|
โครงสร้างรับน้ำหนักแบบชาเหลียงในศาลเจ้าและภาพสะท้อนชาวจีนอพยพในกรุงเทพฯ สมัยรัชกาลที่ 1 - 5
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 2491-2508
|
|
อดิศร หมวกพิมาย
|
2560
|
คำให้การของชาวจีนที่เดินทางมาสยาม ในสมัยกรุงธนบุรี
|
วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 374-391
|
|
อติชาติ คำพวง
|
2563
|
คติด้านความกตัญญู (?) ในวัฒนธรรมจีน : ภาพสะท้อนจริยศาสตร์ครอบครัวจีนผ่านสำนวน
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 137-157
|
|
อติชาติ คำพวง, อรอนงค์ อินสอาด
|
2562
|
ปรัชญาของขงจื่อกับการจัดระเบียบทางสังคม: การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์หลุนอี่ว์
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 126-164
|
|
อติยศ สรรคบุรานุรักษ์, ศศิณัฎฐ์ สรรคบุรานุรักษ์
|
2561
|
เปอรานากัน : บาบ๋า-ย่าหยามรดกทางวัฒนธรรมสายเลือดลูกผสมมลายู-จีน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 หน้า 2740-2755
|
|
อทิตยา ศรีประเสริฐ
|
2563
|
ละครร้องแม่ชม้อย คังฆะรัตน์ เรื่องสามก๊ก
|
วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 35 - 50
|
|
อธิปัตย์ นิตย์นรา, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
ภาพพจน์ความรักผ่านสามวรรณกรรมจีนร่วมสมัยพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 60-76
|
|
อธิปัตย์ นิตย์นรา, กนกพร นุ่มทอง
|
2567
|
ภาพพจน์ความรักผ่านสามวรรณกรรมจีนร่วมสมัยพระราชนิพนธ์แปลในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
|
วารสารวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 60-76
|
|
อธิปัตย์ นิตย์นรา, กนกพร นุ่มทอง
|
2566
|
ลักษณะการแปลการเล่นคำส่อนัยทางเพศในบทบรรยายใต้ภาพจากภาษาไทยเป็นภาษาจีนของซีรีส์วายไทย: กรณีศึกษาซีรีส์วายไทยเรื่อง “เพราะเราคู่กัน” Characteristics of Translation of Pun Words Expressing Sexual Implications in the Subtitles from Thai to Chinese of the Thai Boys’ Love Series: A Case Study of the Thai Boys ’ Love Drama “2gether The Series”
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 หน้า 195-227
|
|
อนงค์ศรี จันทะคัด, สุขสันต์ ทับทิมหิน, ชุติพร นครศรี
|
2565
|
การศึกษาหลักการใช้ “美丽、漂亮、好看” โดยเทียบเคียง “งดงาม สวยงาม ดูดี” ในภาษาไทย
|
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด
|
|
อนงนาฎ กมลรัตน์, ฐนน พูนทรัพย์ไพศาล
|
2561
|
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนกลางโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวทางการสอนแบบ Active Learning ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเทศบาล ๑ ศรีเกิด อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 12 หน้า 196 - 211
|
|
อภิญญา จอมพิจิตร
|
2566
|
ประเพณี ถ้อยคํา และสํานวนจีนที่มีความสัมพันธ์กับ “สุรา”
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
อภิญญา จอมพิจิตร
|
2559
|
การศึกษาภาษาจีนพื้นฐานเพื่อการสื่อสารอย่างมีมารยาท
|
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 24 ฉบับที่ 44 หน้า 253-275
|
|
อภิญญา รัตนมงคลมาศ
|
2530
|
ภาวะผู้นำทางการเมืองและการพัฒนาของจีน : นัยยะต่อเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
|
เอเชียปริทัศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 หน้า 78-88
|
|
อภิญญา รัตนมงคลมาศ
|
2528
|
ชาวนากับการปฏิวัติ : บทศึกษาเฉพาะกรณีการปลุกระดมมวลชนในประเทศจีน
|
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 3 หน้า 39-53
|
|
อภิญญา รัตนมงคลมาศ
|
2520
|
การกลับคืนสู่อำนาจของเติ้งเสี่ยวผิง
|
จุลสารชุดเบื้องหลังเหตุการณ์ปัจจุบัน เล่มที่ 67 หน้า 1-22
|
|
อภิรักษ์ นุสิทธิ์ชัยการ
|
2566
|
การทูตอีสปอร์ต อํานาจละมุนใหม่ในยุคดิจิทัลของจีน
|
วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา "ปีที่ 43 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 43-68"
|
|
อภิลักษณ์ เกษมผลกูล, ตาว เซิงหวา
|
2558
|
สวนไม่เข้าเป็นคา ญาติพี่น้องไม่ไปมาเป็นอื่น : “ความเป็นพี่น้องไท” กับการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในประเพณีปอยซ้อนนํ้า ของชาวไทใต้คงเมืองขอน มณฑลยูนนาน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 13 - 32
|
|
อภิสรา พรรัตนานุกูล , Zhu Minwen , Wang Jianqin
|
2554
|
ความคล้ายคลึงเชิงกลุ่มในวรรณยุกต์จีนและไทย : ผลกระทบที่มีต่อการรับรู้วรรณยุกต์ของผู้เรียนชาวไทย
|
วารสารจีนวิทยา ปีที่ 5 หน้า 171-190
|
|
อภิสรา พรรัตนานุกูล, คัง โจว
|
2562
|
การศึกษาสภาพปัจจุบันของรูปแบบการเรียนการสอนภาษาแบบเน้นงานปฏิบัติกับการสอนภาษาจีนสำหรับผู้เรียนชาวไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 หน้า 140-162
|
|
อมรชัย คหกิจโกศล
|
2548
|
การเปรียบเทียบคำเรียกเครือญาติในภาษาไทยและภาษาจีนแต้จิ๋ว
|
ดำรงวิชาการ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 หน้า 1 - 23
|
|
อมรรัตน์ เนตรธัญญกรวงศ์
|
2567
|
การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการแปลป้ายสาธารณะภาษาจีนของท่าอากาศยานในไทย
|
วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการปีที่ 31 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 147 - 169
|
|
อมรรัตน์ เนตรธัญญกรวงศ์
|
2560
|
คนผิดปกติและคนปกติ: การอุปมาของภาพลักษณ์สองสิ่งนี้ในวรรณกรรม ค้นหารากเหง้าจีน
|
วารสาร Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 950-958
|
|
อรกัญญา โรจนวานิชกิจ
|
2563
|
การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเปรียบเทียบภาษาจีนและภาษาไทยในฐานข้อมูล CNKI ของจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 147-157
|
|
อรกัญญา โรจนวานิชกิจ
|
2558
|
การศึกษาที่มาและเนื้อหาของคำในศัพทานุกรมภาษาจีน-ไทย เสียนหลัวกว่านอี้หยู่ China’s first Chinese-Thai Glossary
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 1 ถึง 13
|
|
อรชพร พวงทอง
|
2563
|
การศึกษาวิเคราะห์ข้อผิดพลาดการใช้โครงสร้างกริยาซ้อน V1 ? V2 ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 34-54
|
|
อรชพร พวงทอง
|
2561
|
การศึกษาเปรียบเทียบคำแสดงความเป็นเจ้าของ "ของ" ในภาษาไทย และ "?" ในภาษาจีน
|
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 131-146
|
|
อรณิศา วิริยธนานนท์
|
2558
|
การศึกษาเปรียบเทียบ เรื่อง มโนทัศน์พื้นที่ “บน” : กรณีศึกษา คำว่า “sh?ng” ในภาษาจีนแมนดาริน และ “บน” “เหนือ” “ขึ้น” ในภาษาไทย
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 หน้า 38-100
|
|
อรณิศา อุรพีพัฒนพงศ์
|
2563
|
มโนทัศน์ของชาวจีนที่มีต่อคําว่า “ไก่”: การวิเคราะห์เชิงภาษา
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 38 ฉบับที่ 2 หน้า 61-88
|
|
อรไท โสภารัตน์
|
2566
|
การคานอำนาจของออสเตรเลียในการแข่งขันทางภูมิยุทธศาสตร์ระหว่างจีนและ สหรัฐอเมริกา
|
วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
อรนรินทร์ วิจักษณ์เมธี1, วสันต์ ทรัพย์ศิริพันธ์
|
2566
|
“是” As An Adverb
|
วารสารช่อพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 หน้า 288-303
|
|
อรรคภณ วชิรวัชร์, ชนิสรา สีรือแสง
|
2563
|
ศึกษาตำนานความเชื่อด้ายแดงแห่งโชคชะตาของชาวจีน
|
วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 หน้า 79 - 86
|
|
อรฤดา คำเลิศลักษณ์
|
2565
|
ผลกระทบกรอบความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน - จีน ต่อมาตรการส่งเสริมการลง ทุนในอุตสาหกรรมการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ในประเทศไทย
|
วารสารกฎหมาย คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
อรศิริ ปาณินท์
|
2530
|
รูปสัญลักษณ์แทนความหมายต่างๆ ในวัดจีน
|
วารสารหน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 หน้า 80 - 104
|
|
อรศิริ ปาณินท์
|
2529
|
วัดจีนในกรุงเทพฯ : กรณีศึกษาวัดมังกรกมลาวาสและวัดโพธิ์แมนคุณาราม
|
วารสารหน้าจั่ว สถาปัตยกรรม การออกแบบ และสภาพแวดล้อม ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 หน้า 1 - 29
|
|
อรอนงค์ อินสอาด
|
2563
|
การธำรงอัตลักษณ์และความทรงจำร่วมจากวรรณกรรมจีนสำหรับการแสดงงิ้วแต้จิ๋วในสังคมไทย
|
มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 หน้า 258 - 278
|
|
อรอนงค์ อินสอาด
|
2560
|
ความหมายของชื่อเมืองในภาคตะวันตกของจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 34 ฉบับที่ 3 หน้า 1 ถึง 19
|
|
อรอนงค์ อินสอาด, มธุรส แพทย์ชีพ
|
2561
|
การเปรียบเทียบความหมายระหว่างอักษรคันจิของญี่ปุ่นและอักษรจีน
|
วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ปีที่ 35 ฉบับที่ 1 หน้า 43-67
|
|
อรัญญา ศิริผล
|
2561
|
ผู้ประกอบการจีนรุ่นใหม่กับการเปลี่ยนวัฒนธรรมการค้าชายแดนภาคเหนือไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ปีที่ 14 ฉบับที่ 2 หน้า 139-157
|
|
อรุโณทัย บุญชม ปรีชานนท์ ปรีเลขา
|
267
|
วัฒนธรรมการสืบทอดภาษาจีนของคนไทยเชื้อสายจีนในเขตเทศบาลเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
|
วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 195-212
|
|
อังค์วรา กุลวรรณวิจิตร, ชัญญพร จาวะลา
|
2562
|
ที่มา ภาพพจน์ และภาพสะท้อนทางวัฒธรรมของคำอวยพรในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารจีนวิทยา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีที่ 13 หน้า 185 - 213
|
|
อัจจิมา ม่วงน้อย, สิทธิพล อาจอินทร์
|
2561
|
การศึกษาความสามารถในการพูดภาษาจีน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค TGT ร่วมกับกิจกรรมบทบาทสมมติ
|
วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 131-137
|
|
อัจฉรา ฤกษ์อภิเดชา และ บุรินทร์ ศรีสมถวิล
|
2567
|
เสน่ห์ของวิทยายุทธ์ในนิยายกําลังภายในของกิมย้งเรื่อง “เซ่อเตียวอิงสยงจ้วน”ที่เลือนหายไปในฉบับพากย์ไทยสองสํานวน : การศึกษาเปรียบเทียบ
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 187-215
|
|
อัจฉราภรณ์ จันทร์สว่าง
|
2560
|
การพัฒนาทักษะการใช้ไวยากรณ์ภาษาไทยสำหรับนักศึกษาชาวจีน
|
วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 หน้า 67 - 79
|
|
อัญชลิการ์ ขันติ, สมเกียรติ อินทสิงห์, สุนทรี คนเที่ยง
|
2562
|
แนวทางการพัฒนาทักษะการพูดภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเบื้องต้น
|
ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 หน้า 34-41
|
|
อัญชลี กิ๊บบินส์
|
2561
|
คัมภีร์พิณ ดนตรีแห่งลมปราณและจิตวิญญาณ
|
วารสารข่วงผญา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 หน้า 68 - 98
|
|
อัญมณี เมามีจันทร์
|
2566
|
วิเคราะห์ความหมาย คําว่า“大”ภาษาจีนปัจจุบัน ในบริบทภาษาไทย
|
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน วิทยาลัยจีนศึกษา มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
|
|
อัฐพร ชาญชญานนท์, ทัศน์ธนิต ทองแดง
|
2560
|
บันทึกประสบการณ์การจัดการเรียนรู้เชิงรุก ด้วยกิจกรรมการสัมภาษณ์ชาวจีน ในรายวิชาภาษาจีนชั้นต้น
|
วารสารหาดใหญ่วิชาการ ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 หน้า 209 - 223
|
|
อัมพร จิรัฐติกร
|
2561
|
เศรษฐกิจเชิงอารมณ์ของละครไทยในกัมพูชาและจีน
|
วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา ปีที่ 37 ฉบับที่ 2 หน้า 97 - 128
|
|
อัมพร วิจิตรพันธ์
|
2526
|
เศรษฐกิจการเมืองในสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
วารสารรามคำแหง ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เศรษฐศาสตร์เล่มที่ 1 หน้า 34-48
|
|
อาจารีย์ ศรีหล้า, เนตรน้ำทิพย์ บุดดาวงศ์
|
2563
|
การศึกษาความหมายของคำมงคลและวัฒนธรรมจีนที่ปรากฏในเทศกาลตรุษจีน
|
วารสารรัตนปัญญา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 หน้า 67-75
|
|
อาทร ฟุ้งธรรมสาร
|
2545
|
ความขัดแย้งสี่คู่ที่มีผลต่อการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศจีน
|
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 หน้า 2 ถึง 12
|
|
อาทร ฟุ้งธรรมสาร
|
2524
|
วิจารณ์เรื่องสั้นของ หลู่ซิ่น
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 หน้า 110-128
|
|
อาทร ฟุ้งธรรมสาร
|
2528
|
ยา : ผลงานปฏิวัติของหลู่ซิ่น
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 83-96
|
|
อาทร ฟุ้งธรรมสาร
|
2526
|
บาดแผล : วรรณกรรมสะท้อนยุคมืดของจีน
|
วารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 4 หน้า 67-73
|
|
อาทิตยา หล่าวเจริญ, ธีริภาพ ปริดีพจน์
|
2567
|
การศึกษาเปรียบเทียบการละคำลักษณนามที่คู่คำนามในภาษาจีนและภาษาไทย
|
วารสารพิฆเนศวร์สาร ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 141-154
|
|
อานันท์ ปาจรียางกูร
|
2543
|
"ปาฐกถพิเศษ" ใน ความสัมพันธ์ไทย-จีน เหลียวหลังแลหน้า
|
ศูนย์จีนศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
|
อาภรณ์ ถิรกันต์, Rui Zhou
|
2566
|
อิทธิพลความเชื่อที่เกี่ยวกับคางคกสามขาจีนในประเทศไทย
|
วารสารจีนวิทยา Journal of Sinology มหาวิทยาลัยเเม่ฟ้าหลวง ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 หน้า 12-24
|
|
อาริสา หาวรดิษ
|
2566
|
การศึกษาค าว่า หยก “玉” (yù) ที่เกี่ยวเนื่องกับ “มนุษย์” ในสุภาษิตจีน
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 58-85
|
|
อาริสา หาวรดิษ
|
2565
|
การศึกษาคำว่า “气” (qì) ที่ปรากฏร่วมกับ “อวัยวะ” ในคำพังเพยจีน
|
วารสารภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาวิชาภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
|
อาริสา หาวรดิษ
|
2564
|
ลักษณะสุภาษิตที่ปรากฏคำว่า "เรียน" ในสุภาษิตจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 หน้า 23 - 42
|
|
อารีย์ พรหมรอด
|
2555
|
ความหมายแฝงของตัวเลข "?" y? หนึ่ง ในภาษาจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 หน้า 108-128
|
|
อินทรมนตรี (แย้ม), พระ
|
2517
|
ระยะทางราชทูตไทยไปกรุงปักกิ่งประเทศจีน
|
แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสารโบราณคดี ปีที่ 8 เล่ม 1-3 หน้า 16-44
|
|
อุมา สินธุเศรษฐ
|
2561
|
สมาคมลับอั้งยี่ในประเทศไทย : กรณีอั้งยี่ภาคใต้
|
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 หน้า 231-257
|
|
อู่ เยี่ยนยวิ่น
|
2552
|
กรณีศึกษาการฝึกฝนหน่วยเสียงวรรณยุกต์ของผู้เรียนที่มีพื้นหลังทางภาษาเป็นภาษาสเปน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 หน้า 12 ถึง 31
|
|
อู๋เว่ยเว่ย และ ศันสนีย์ เอกอัจฉริยา
|
2567
|
การศึกษาเปรียบเทียบการใช้คําขยายคํานามต่อเนื่องหลายคําในภาษาจีนสมัยใหม่จากคลังข้อมูลและจากตําราการเรียนการสอนภาษาจีนสําหรับชาวต่างชาติ
|
วารสารจีนวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตร ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 หน้าที่ 44- 65
|
|
เอกชัย แสงจันทร์ทะนุ
|
2564
|
พระโพธิสัตว์กวนอิมกับความเชื่อเรื่องการรับประทานเนื้อวัว ในมุมมองวิถีปฏิบัติแบบจีนในพุทธศาสนามหายานและศาสนาเต๋า
|
วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 178 - 198
|
|
เอกชัย แสงจันทร์ทะนุ
|
2563
|
กลวิธีการแปลชื่อละครและซีรีส์ไทยเป็นภาษาจีน
|
มนุษยศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 หน้า 116-136
|
|
เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์
|
2553
|
ระบบเครือญาติในลัทธิขงจื่อกับปัญหาการคอรัปชั่น: การตีความผ่านคัมภีร์หลุนอี่ว์
|
วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 41 ฉบับที่ 1 หน้า 158-196
|
|
เอนกชัย เรืองรัตนากร
|
2559
|
ความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับแอฟริกา: กรณีศึกษาการค้าอาวุธและน้ำมันระหว่างจีนกับซูดาน
|
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี ปีที่ 10 ฉบับที่ 22 หน้า 111-127
|
|
เออิจิ มูราชิมา
|
2562
|
ต้นกำเนิดลัทธิชาตินิยมจีนในสังคมชาวจีนในประเทศไทย
|
วารสารประวัติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 หน้า 19-79
|
|
แอนนี คําสร้อย, พรภวิษย์ หล้าพีระกุล
|
2566
|
วิเคราะห์การบริหารจัดการแม่น้ำโขงของจีนตามแนวคิดผลประโยชน์แห่งชาติ และผลกระทบต่อประเทศลาว
|
วารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
|
แอนนี คำสร้อย
|
2566
|
การ “ก้าวออกไป” ของอาชีวศึกษาจีนกับรูปแบบความร่วมมือในการพัฒนากำลัง คนในต่างประเทศ กรณีศึกษาศูนย์ปฏิบัติการเทคโนโลยีและนวัตกรรมลูปัน ในประเทศไทย
|
วารสารศิลปศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
|
|
โอภาส วัลลิภากร
|
2526
|
หยิน-หยาง
|
วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 หน้า 49-51
|
|
โอฬาร ถิ่นบางเตียว
|
2559
|
บทบาททางเศรษฐกิจของชาวจีนช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้นในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
|
วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 24 ฉบับที่ 46 หน้า 59-79
|
|
ฮ่าวชาง หลี่, สุภินดา รัตนตั้งตระกูล
|
2562
|
การพักผ่อนในบริบทของวัฒนธรรมจีน——จิตวิทยากับการพักผ่อนของชาวจีน
|
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 หน้า 176-199
|
|